ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผักกาดหัว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
โทษทีผิด
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18: บรรทัด 18:


'''ผักกาดหัว''' <!--ชื่อสามัญ--> หรือชื่ออื่นๆ เช่น ''หัวผักกาด, หัวไช้เท้า'' เป็น[[ผัก]]ที่หลายประเทศนำมาทำอาหาร อย่าง[[อาหารญี่ปุ่น]]ก็ นิยมนำหัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงใน[[ซีอิ๊ว]] ใช้เป็นน้ำจิ้ม เพราะชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าช่วยกระตุ้นน้ำย่อย หรืออย่างชาวจีนก็นำมาแปรรูปเป็น[[หัวไช้โป๊ว]]ไว้ทานตลอดปี ทางด้านวงการแพทย์แผนจีนมองว่า หัวไช้เท้าอยู่ในกลุ่มหยาง (yang) คือเป็นอาหารร้อน ไม่ควรทานเวลามีไข้ ส่วนในตำรายาพื้นบ้านอินเดียแนะว่า เมื่อทานแล้วจะช่วยให้นอนหลับรวมถึงแก้โรคประสาท
'''ผักกาดหัว''' <!--ชื่อสามัญ--> หรือชื่ออื่นๆ เช่น ''หัวผักกาด, หัวไช้เท้า'' เป็น[[ผัก]]ที่หลายประเทศนำมาทำอาหาร อย่าง[[อาหารญี่ปุ่น]]ก็ นิยมนำหัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงใน[[ซีอิ๊ว]] ใช้เป็นน้ำจิ้ม เพราะชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าช่วยกระตุ้นน้ำย่อย หรืออย่างชาวจีนก็นำมาแปรรูปเป็น[[หัวไช้โป๊ว]]ไว้ทานตลอดปี ทางด้านวงการแพทย์แผนจีนมองว่า หัวไช้เท้าอยู่ในกลุ่มหยาง (yang) คือเป็นอาหารร้อน ไม่ควรทานเวลามีไข้ ส่วนในตำรายาพื้นบ้านอินเดียแนะว่า เมื่อทานแล้วจะช่วยให้นอนหลับรวมถึงแก้โรคประสาท

ผักกาดหัวสีขาว (''Raphanus sativus'' subsp. ''longipinnatus'') เป็นสปีชีส์ย่อยของ [[ผักกาดหัวสีแดง]] (''Raphanus sativus'')


[[หมวดหมู่:ผัก]]
[[หมวดหมู่:ผัก]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:39, 23 ธันวาคม 2551

Daikon
A pile of daikon radishes.
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
ไม่ได้จัดลำดับ: Angiosperms
ไม่ได้จัดลำดับ: Eudicots
ไม่ได้จัดลำดับ: Rosids
อันดับ: Brassicales
วงศ์: Brassicaceae
สกุล: Raphanus
สปีชีส์: R.  sativus
สปีชีส์ย่อย: R.  sativus subsp. longipinnatus[1]
Trinomial name
Raphanus sativus subsp. longipinnatus
L.

ผักกาดหัว หรือชื่ออื่นๆ เช่น หัวผักกาด, หัวไช้เท้า เป็นผักที่หลายประเทศนำมาทำอาหาร อย่างอาหารญี่ปุ่นก็ นิยมนำหัวไช้เท้าดิบมาขูดฝอยลงในซีอิ๊ว ใช้เป็นน้ำจิ้ม เพราะชาวญี่ปุ่นเชื่อว่าช่วยกระตุ้นน้ำย่อย หรืออย่างชาวจีนก็นำมาแปรรูปเป็นหัวไช้โป๊วไว้ทานตลอดปี ทางด้านวงการแพทย์แผนจีนมองว่า หัวไช้เท้าอยู่ในกลุ่มหยาง (yang) คือเป็นอาหารร้อน ไม่ควรทานเวลามีไข้ ส่วนในตำรายาพื้นบ้านอินเดียแนะว่า เมื่อทานแล้วจะช่วยให้นอนหลับรวมถึงแก้โรคประสาท

ผักกาดหัวสีขาว (Raphanus sativus subsp. longipinnatus) เป็นสปีชีส์ย่อยของ ผักกาดหัวสีแดง (Raphanus sativus)

  1. Mish, Frederick C., Editor in Chief. “Daikon.” Webster’s Ninth New Collegiate Dictionary. 9th ed. Springfield, MA: Merriam-Webster Inc., 1985. ISBN 0-87779-508-8, ISBN 0-87779-509-6 (indexed), and ISBN 0-87779-510-X (deluxe).