ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยีนส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Voraprachw (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:

[[ภาพ:Closeup of copper rivet on jeans.jpg|thumb|250px|ยีนส์]]
[[ภาพ:Closeup of copper rivet on jeans.jpg|thumb|250px|ยีนส์]]
'''ยีนส์''' ({{Lang-en|Jeans}}) คือ[[กางเกง]]ที่ทำจากผ้าฝ้ายหยาบ แต่เพื่อความหลากหลายมักใช้ผ้าที่มีริ้ว เดิมทีผลิตเพื่อการทำงาน แต่ได้รับความนิยมในหมู่วัยรุ่นเริ่มจากทศวรรษที่ 50 มีแบรนด์ที่มีชื่อเสียงอย่าง [[ลีวายส์]] [[แรงเลอร์]] เป็นต้น ทุกวันนี้ยีนส์ถือว่าเป็นเครื่องแต่งกายที่ได้รับความนิยมทั่วทุกมุมโลก มีหลากหลายรูปแบบและสีสัน
'''ยีนส์''' ({{Lang-en|Jeans}}) คือ[[กางเกง]]ที่ทำจากผ้าฝ้ายหยาบ แต่เพื่อความหลากหลายมักใช้ผ้าที่มีริ้ว เดิมทีผลิตเพื่อการทำงาน แต่ได้รับความนิยมในหมู่วัยรุ่นเริ่มจากทศวรรษที่ 50 มีแบรนด์ที่มีชื่อเสียงอย่าง [[ลีวายส์]] [[แรงเลอร์]] เป็นต้น ทุกวันนี้ยีนส์ถือว่าเป็นเครื่องแต่งกายที่ได้รับความนิยมทั่วทุกมุมโลก มีหลากหลายรูปแบบและสีสัน
บรรทัด 6: บรรทัด 5:
ยีนส์เริ่มมีครั้งแรกที่เมือง[[เจโนอา]] เมืองท่าของ[[ประเทศอิตาลี]] โดยจุดประสงค์เพื่อ[[กะลาสี]]ชาวเจนัว ไว้ใส่เพื่อรองรับต่อสภาพแห้งหรือเปียกได้ดี และสามารถถกขากางเกงได้ขณะอยู่บนดาดฟ้าเรือ
ยีนส์เริ่มมีครั้งแรกที่เมือง[[เจโนอา]] เมืองท่าของ[[ประเทศอิตาลี]] โดยจุดประสงค์เพื่อ[[กะลาสี]]ชาวเจนัว ไว้ใส่เพื่อรองรับต่อสภาพแห้งหรือเปียกได้ดี และสามารถถกขากางเกงได้ขณะอยู่บนดาดฟ้าเรือ
ผ้ายีนส์ที่ทำขึ้นมาในนครเจโนอา กลางศตวรรษที่ 19 ซึ่งทาง[[ประเทศอังกฤษ]]สั่งนำเข้าผ้าชนิดนี้ ด้วยความทึ่งในความทนทาน และเรียกผ้านี้รวมๆว่า Fustian ซึ่งแปลว่าผ้าสีเนื้อหยาบ ต่อมาระหว่างที่เรือขนส่งสินค้าเดินทางจากอิตาลีมาอังกฤษ ต้องผ่าน[[ประเทศฝรั่งเศส]] ซึ่งคนเมืองเรียกเมืองเจนัวว่า แชน (Genes [[ภาษาฝรั่งเศส]]มีหมวกที่ e ตัวแรก) และเรียกสินค้าจากเจนัวว่า ชีน (Jene) ซึ่งภายหลังเปลี่ยนมาเป็น ชอง (Jean) พอมาถึงอังกฤษ คนผู้ดีจะอ่านคำว่า Jean ว่า จีน หรือยีน เช่นเดียวกับคนอเมริกันที่พูด[[ภาษาอังกฤษ]] ซึ่งเมื่อคนนำผ้ายีนส์นี้ไปตัดกางเกง ก็ต้องเป็นคำที่เติม s จึงเรียกว่า Jeans ยีนส์
ผ้ายีนส์ที่ทำขึ้นมาในนครเจโนอา กลางศตวรรษที่ 19 ซึ่งทาง[[ประเทศอังกฤษ]]สั่งนำเข้าผ้าชนิดนี้ ด้วยความทึ่งในความทนทาน และเรียกผ้านี้รวมๆว่า Fustian ซึ่งแปลว่าผ้าสีเนื้อหยาบ ต่อมาระหว่างที่เรือขนส่งสินค้าเดินทางจากอิตาลีมาอังกฤษ ต้องผ่าน[[ประเทศฝรั่งเศส]] ซึ่งคนเมืองเรียกเมืองเจนัวว่า แชน (Gênes) และเรียกสินค้าจากเจนัวว่า ชีน (Jene) ซึ่งภายหลังเปลี่ยนมาเป็น ชอง (Jean) พอมาถึงอังกฤษ คนผู้ดีจะอ่านคำว่า Jean ว่า จีน หรือยีน เช่นเดียวกับคนอเมริกันที่พูด[[ภาษาอังกฤษ]] ซึ่งเมื่อคนนำผ้ายีนส์นี้ไปตัดกางเกง ก็ต้องเป็นคำที่เติม s จึงเรียกว่า Jeans ยีนส์


จนกระทั่งราวปี [[ค.ศ. 1850]] หรือ พ.ศ. 2393 [[ลีวาย สเตราส์]] (Levi Strauss) [[ชาวเยอรมัน]]ที่อาศัยอยู่ที่[[ซานฟรานซิสโก]]ได้ผลิตกางเกงยีนส์ในชื่อ [[ลีวายส์]] โดยตั้งชื่อกางเกงยีนส์ตามชื่อ[[ผ้าฝ้าย]] โดยผ้าฝ้ายนำมาจากผู้ผลิตที่เมืองเจนัว (Genoa)
จนกระทั่งราวปี [[ค.ศ. 1850]] หรือ พ.ศ. 2393 [[ลีวาย สเตราส์]] (Levi Strauss) [[ชาวเยอรมัน]]ที่อาศัยอยู่ที่[[ซานฟรานซิสโก]]ได้ผลิตกางเกงยีนส์ในชื่อ [[ลีวายส์]] โดยตั้งชื่อกางเกงยีนส์ตามชื่อ[[ผ้าฝ้าย]] โดยผ้าฝ้ายนำมาจากผู้ผลิตที่เมืองเจนัว (Genoa)

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:22, 30 กันยายน 2551

ยีนส์

ยีนส์ (อังกฤษ: Jeans) คือกางเกงที่ทำจากผ้าฝ้ายหยาบ แต่เพื่อความหลากหลายมักใช้ผ้าที่มีริ้ว เดิมทีผลิตเพื่อการทำงาน แต่ได้รับความนิยมในหมู่วัยรุ่นเริ่มจากทศวรรษที่ 50 มีแบรนด์ที่มีชื่อเสียงอย่าง ลีวายส์ แรงเลอร์ เป็นต้น ทุกวันนี้ยีนส์ถือว่าเป็นเครื่องแต่งกายที่ได้รับความนิยมทั่วทุกมุมโลก มีหลากหลายรูปแบบและสีสัน

ประวัติ

ยีนส์เริ่มมีครั้งแรกที่เมืองเจโนอา เมืองท่าของประเทศอิตาลี โดยจุดประสงค์เพื่อกะลาสีชาวเจนัว ไว้ใส่เพื่อรองรับต่อสภาพแห้งหรือเปียกได้ดี และสามารถถกขากางเกงได้ขณะอยู่บนดาดฟ้าเรือ

ผ้ายีนส์ที่ทำขึ้นมาในนครเจโนอา กลางศตวรรษที่ 19 ซึ่งทางประเทศอังกฤษสั่งนำเข้าผ้าชนิดนี้ ด้วยความทึ่งในความทนทาน และเรียกผ้านี้รวมๆว่า Fustian ซึ่งแปลว่าผ้าสีเนื้อหยาบ ต่อมาระหว่างที่เรือขนส่งสินค้าเดินทางจากอิตาลีมาอังกฤษ ต้องผ่านประเทศฝรั่งเศส ซึ่งคนเมืองเรียกเมืองเจนัวว่า แชน (Gênes) และเรียกสินค้าจากเจนัวว่า ชีน (Jene) ซึ่งภายหลังเปลี่ยนมาเป็น ชอง (Jean) พอมาถึงอังกฤษ คนผู้ดีจะอ่านคำว่า Jean ว่า จีน หรือยีน เช่นเดียวกับคนอเมริกันที่พูดภาษาอังกฤษ ซึ่งเมื่อคนนำผ้ายีนส์นี้ไปตัดกางเกง ก็ต้องเป็นคำที่เติม s จึงเรียกว่า Jeans ยีนส์

จนกระทั่งราวปี ค.ศ. 1850 หรือ พ.ศ. 2393 ลีวาย สเตราส์ (Levi Strauss) ชาวเยอรมันที่อาศัยอยู่ที่ซานฟรานซิสโกได้ผลิตกางเกงยีนส์ในชื่อ ลีวายส์ โดยตั้งชื่อกางเกงยีนส์ตามชื่อผ้าฝ้าย โดยผ้าฝ้ายนำมาจากผู้ผลิตที่เมืองเจนัว (Genoa)

แหล่งข้อมูลอื่น