ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การรู้หนังสือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
JAnDbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: cs, da, eo, es, gl, it, pl, sq ลบ: bg, en, he, pt, sk แก้ไข: nl
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
{{โครงภาษา}}
{{โครงภาษา}}


[[cs:Negramotnost]]
[[bg:Грамотност]]
[[da:Analfabetisme]]
[[de:Analphabetismus]]
[[de:Analphabetismus]]
[[en:Literacy]]
[[eo:Analfabeto]]
[[ja:識字]]
[[es:Analfabetismo]]
[[fr:analphabétisme]]
[[fr:Analphabétisme]]
[[gl:Analfabetismo]]
[[he:אוריינות]]
[[it:Analfabetismo]]
[[nl:Alfabetiseringsgraad]]
[[no:analfabetisme]]
[[ja:識字]]
[[pt:Analfabetismo]]
[[nl:Analfabetisme]]
[[sk:Gramotnosť]]
[[no:Analfabetisme]]
[[pl:Analfabetyzm]]
[[sq:Analfabetizmi]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:55, 12 มิถุนายน 2551

การรู้หนังสือ (Literacy) คือ ความสามารถที่เข้าใจภาษาในระดับที่เหมาะกับการติดต่อสื่อสาร และโดยทั่วไปทำให้ทำงานได้สมบูรณ์ตามระดับสังคมต่างๆ

มาตรฐานสำหรับการรู้หนังสือ มีความหลากหลายระหว่างสังคม เช่น ทักษะทางคอมพิวเตอร์ หรืออาจจะรวมถึงพื้นฐานทางตัวเลข มีผู้คนจำนวนมากที่ไม่สามารถอ่านตัวหนังสือได้ แต่สามารถอ่านตัวเลขได้ และบางส่วนอาจเคยเรียนรู้การใช้คอมพิวเตอร์ โดยที่ไม่รู้หนังสือมาก่อน แต่จะอาศัยการออกเสียง รูปภาพและส่วนประกอบกราฟิกในรูปแบบของดิจิทัล ซึ่งจะเห็นได้ว่า ไม่จำเป็นต้องอ่านออก เขียนได้ แต่เราก็สามารถรับรู้ได้จากวิธีที่หลากหลายตามแนวความคิดของ การรู้หนังสือ

สถาบันการศึกษาของอังกฤษ มีการเพิ่มการแสดงแบบสมจริง ในรายการของการสื่อสาร เพื่อเป็นการยกระดับ การรู้หนังสือ อีกระดับหนึ่ง อีกทั้งยังมีการวิจัยออกมาว่า อัตราความสามารถการอ่านออกและเขียนได้ มีอัตราเพิ่มขึ้นมากโดยเฉพาะในเมืองใหญ่ การรู้หนังสือ นั้นยังแยกกันตามความชำนาญทางเทคนิคและจุดประสงค์ของการอ่านและเขียน โดยอาจจะเกี่ยวกับวัฒนธรรม การเมือง และประวัติศาสตร์ นิยามของความสามารถการอ่านออก เขียนได้ อาศัยหลักของมโนคติวิทยา

ในปัจจุบันนี้ จะเห็นว่าเราได้ให้ความสำคัญกับการศึกษาของ การรู้หนังสือ มากขึ้น โดย การรู้หนังสือ แนวใหม่นั้นจะเน้นตั้งแต่การศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทำให้ประชากรบนโลกนี้ มีความรู้ ความสามารถตามวัย และยังส่งผลให้เรามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย