ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าวรญาณรังษี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14: บรรทัด 14:


[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครลำปาง]]
[[หมวดหมู่:เจ้าผู้ครองนครลำปาง]]

ทายาทสายสกุลของเจ้าหลวงวรญาณรังษีฯ ซึ่งเป็นที่รู้จักมากๆ คือ เจ้าทนันไชย(เจ้าหลวงนรนันทไชยชวลิต เจ้าผู้ครองนครลำปาง ผู้เป็นราชบุตรเจ้าหลวงญาณฯ)เจ้าบิดาเจ้าบุญทวงศ์ ณ ลำปาง(เจ้าหลวงบุญวาทย์วงษ์มานิต เจ้าผู้ครองนครลำปางองค์สุดท้าย นัดดาเจ้าหลวงวรญาณรังษีฯ)ผมเห็นว่าตราไก่ขาวนั้นน่าจะเป็นตราของขุนอนุสารสุภกรมากกว่า เพราะสายตระกูลนี้แยกเป็นสายเจ้าเมืองพะเยาเมืองขึ้นเมืองนครลำปาง เป็นไปได้หรือที่ตราประทับของราชตระกูลของเจ้าผู้ครองนครลำปางจะตกไปทางสายนี้ น่าจะสืบมาทางสายทายาทสายตรงที่เมืองนครลำปางมากกว่า เมืองพะเยาในยุคราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน เป็นเพียงหัวเมืองขึ้นเมืองนครประเทศราช เจ้าเมืองสยามแต่งตั้งให้เป็น "พระยา" ไม่ได้รับรองความเป็นเจ้า ดังเช่นเจ้าผู้ครองนคร แต่ชาวเมืองถือว่า เป็นเชื้อสายของเจ้าผู้ครองนครจึงถือว่าเป็น เจ้าหลวง ด้วย เมืองพะเยาก็เทียบเท่าเมืองขึ้นต่างๆ ของนครประเทศราช คือ เมืองพะเยา เจ้าเมืองมีตำแหน่ง "พระยาประเทศอุดรทิศ" หรือ "พระยาอุดรประเทศทิศ" เมืองขึ้นเจ้าผู้ครองนครลำปาง เมืองงาว เจ้าเมืองมีตำแหน่ง "พระยาฤทธิภิญโญยศ" เมืองขึ้นเจ้าผู้ครองนครลำปาง เมืองเชียงแสน เจ้าเมืองมีตำแหน่ง "พระยาราชเดชดำรงค์" เมืองขึ้นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เมืองเชียงราย เจ้าเมืองมีตำแหน่ง "พระยารัตนอาณาเขต" เมืองขึ้นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ เมืองฝาง เจ้าเมืองมีตำแหน่ง "พระยามหามหิทธิวงศาราชาธิบดี" เมืองขึ้นเจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ และเมืองเชียงของ เจ้าเมืองมีตำแหน่ง "พระยาจิตวงษ์วรยศรังษี" เมืองขึ้นเจ้าผู้ครองนครน่าน ซึ่งเป็นข้อเสนอแนะของผู้ที่เคยแวะเข้ามาดูบ่อยๆ คนหนึ่ง ที่อยากเสนอความเห็นสะกิดใจนิดหน่อยเท่านั้นเองครับ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:31, 16 มีนาคม 2551

พระเจ้าวรญาณรังสี เป็นราชบุตรองค์ที่ ๔ ของพระเจ้าคำโสม สมรสกับเจ้าหญิงสุวันไล (เจ้าหญิงฝาง)

พระเจ้าวรญาณรังสี ครองนครลำปาง พ.ศ. ๒๓๗๒-๒๓๗๘ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ซึ่งให้มีฐานันดรศักดิ์เป็น เจ้าวรญาณรังสี ภักดีราชธรรมสุพรรณโนดม ไนยโยนกวิสัย ประชาธิกรเชษฐ์กะเขลางค์ลำปางมหานคราธิปไตย

ทายาทจากสายสกุลของพระเจ้าวรญาณรังสี ซึ่งเป็นที่รู้จักคือ เจ้าบุญหลอม วิรัตน์เกษม ธิดาของ ขุนอนุสารสุภกร (เจ้าน้อยฟุ้ง วิรัตน์เกษม) หลานเจ้าหลวงมหายศแห่งพะเยา และเจ้าบัวสร้อย ณ ลำปาง หลานเจ้าวรญาณรังสีภักดีราชธรรมฯ เจ้าบุญหลอมเป็นมารดาของคุณวันเพ็ญ ภู่พานิชเจริญกูล (วิรัตน์เกษม-ณ ลำปาง) (สมรสกับคุณเรืองฤทธิ์ ภู่พานิชเจริญกูล) มีบุตร-ธิดาคือ นายสุภัทร์ และ นางสาวนวรัตน์ ภู่พานิชเจริญกูล (วิรัตน์เกษม-ณ ลำปาง) และมีภาพตราประทับที่ได้สืบทอดจากเจ้าพ่อขุนอนุสารสุภกร วิรัตน์เกษม ซึ่งตราประทับทำด้วยงาช้าง เป็นตราประทับที่มีอายุ 100 กว่าปี และในตราประทับมีลักษณะเป็นรูปไก่ขาวยืนอยู่บนแท่น ห้อมล้อมด้วยบุปผาต่างๆ


|- style="text-align: center; vertical-align: middle;" | rowspan="1" style="width: 26%; background-color: inherit;" | พระเจ้าน้อยอินทร์ | rowspan="1" style="width: 4%;" | | rowspan="1" style="width: 40%; padding: .5em 0; background-color: inherit;" | เจ้าผู้ครองนครลำปาง
(พ.ศ. 2372 - พ.ศ. 2378) | rowspan="1" style="width: 4%;" | | rowspan="1" style="width: 26%; background-color: inherit;" | พระเจ้าพรหมาภิวงศ์