ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝนดาวตกสิงโต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.8.9
InternetArchiveBot (คุย | ส่วนร่วม)
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.5
 
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
* [http://skytonight.com/observing/objects/meteors/3304116.html?page=1&c=y The Discovery of the Perseid Meteors]{{ลิงก์เสีย|date=พฤษภาคม 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} (after the Leonids and) Prior to 1837, nobody realized the Perseids were an annual event, by Mark Littmann
* [http://skytonight.com/observing/objects/meteors/3304116.html?page=1&c=y The Discovery of the Perseid Meteors]{{ลิงก์เสีย|date=พฤษภาคม 2022 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} (after the Leonids and) Prior to 1837, nobody realized the Perseids were an annual event, by Mark Littmann
* [http://www.angelfire.com/ar/freedmen/stars.html The Night the Stars Fell My Search for Amanda Young] a slave narrative.
* [http://www.angelfire.com/ar/freedmen/stars.html The Night the Stars Fell My Search for Amanda Young] a slave narrative.
* [http://www.native-voice.com/fullstory.cfm?ID=1013 Winter Counts] ''The Native Voice'' By Lise Balk King
* [http://www.native-voice.com/fullstory.cfm?ID=1013 Winter Counts] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20090304153823/http://www.native-voice.com/fullstory.cfm?ID=1013 |date=2009-03-04 }} ''The Native Voice'' By Lise Balk King
* [http://www.spaceweather.com/meteoroutlook/lunarleonids.html Lunar Leonids: Encounters of the Moon with Leonid dust trails] by Robert H. McNaught
* [http://www.spaceweather.com/meteoroutlook/lunarleonids.html Lunar Leonids: Encounters of the Moon with Leonid dust trails] by Robert H. McNaught
* [http://www.chron.com/content/interactive/space/astronomy/news/1999/solarsys/991121.html Brilliant Leonid storm likely fodder for later Lincoln speech] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20081013115429/http://www.chron.com/content/interactive/space/astronomy/news/1999/solarsys/991121.html |date=2008-10-13 }} by Jim Vertuno
* [http://www.chron.com/content/interactive/space/astronomy/news/1999/solarsys/991121.html Brilliant Leonid storm likely fodder for later Lincoln speech] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20081013115429/http://www.chron.com/content/interactive/space/astronomy/news/1999/solarsys/991121.html |date=2008-10-13 }} by Jim Vertuno

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:39, 24 เมษายน 2567

ภาพวาดพายุฝนดาวตกสิงโตครั้งใหญ่ ค.ศ. 1833 วาดขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1889 เพื่อบรรจุในหนังสือ Bible Readings for the Home Circle อ้างอิงจากผู้ประสบเหตุพายุฝนดาวตกคนแรก โจเซฟ ฮาร์วีย์ วากอนเนอร์ ระหว่างทางที่เขาเดินทางจากฟลอริดาไปนิวออร์ลีนส์

ฝนดาวตกสิงโต หรือ ฝนดาวตกลีโอนิดส์ (อังกฤษ: Leonids) เป็นฝนดาวตกหนาแน่น เกิดจากเศษดาวหาง เทมเพล-ทัตเติล ได้ชื่อว่าฝนดาวตกสิงโตเนื่องจากตำแหน่งของรัศมีของฝนดาวตกอยู่ในบริเวณกลุ่มดาวสิงโต กระแสของฝนดาวตกจะเริ่มต้นจากบริเวณนี้บนท้องฟ้า

สามารถมองเห็นฝนดาวตกนี้ได้ด้วยตาเปล่าในราวเดือนพฤศจิกายนทุกปี ซึ่งเป็นช่วงที่โลกโคจรผ่านกระแสอนุภาคของฝนดาวตกที่เป็นเศษซากเหลืออยู่ของในเส้นทางโคจรของดาวหาง กระแสอนุภาคนี้ประกอบด้วยชิ้นส่วนขนาดเล็ก เรียกว่า สะเก็ดดาว ที่แตกตัวออกมาจากดาวหางเมื่อแก๊สแข็งของดาวหางเกิดระเหยขึ้นเนื่องจากความร้อนของดวงอาทิตย์ขณะที่ดาวหางโคจรเข้ามาถึงบริเวณวงโคจรของดาวพฤหัสบดี

ฝนดาวตกสิงโตมีชื่อเสียงมากเนื่องจากเป็นฝนดาวตกที่ค่อนข้างสว่าง สะเก็ดดาวที่หลงเหลืออยู่จากซากดาวหางยังคงล่องลอยอยู่ในแนววงโคจรใกล้เคียงกับวงโคจรเดิมของดาวหาง แต่ถูกรบกวนจากดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ โดยเฉพาะดาวพฤหัสบดี (อ่านคำอธิบายเพิ่มเติมใน McNaught & Asher (1999)) และกลายไปเป็นกระแสอนุภาค หางสะเก็ดดาวแต่เดิมจะไม่หนาแน่นและเป็นเพียงฉากหลังของฝนดาวตก (เกิดเพียงไม่กี่ดวงต่อนาที) วันที่เกิดฝนดาวตกคือประมาณวันที่ 17 พฤศจิกายน โดยอาจเปลี่ยนไปบ้างในแต่ละปี[1] ในทางกลับกันหางสะเก็ดดาวชุดใหม่จะหนาแน่นมากและทำให้เกิดพายุฝนดาวตกเมื่อโลกเคลื่อนผ่านบริเวณเหล่านั้น สามารถนับได้สูงถึงมากกว่า 1000 ดวงต่อชั่วโมง

อ้างอิง[แก้]

  1. สามารถตรวจสอบเวลาเกิดฝนดาวตกได้ที่ IMO website

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]