ข้ามไปเนื้อหา

ทริปโตเฟน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
L-Tryptophan
ชื่อ
IUPAC name
(S) -2-Amino-3- (1H-indol-3-yl) -propionic acid
เลขทะเบียน
3D model (JSmol)
ECHA InfoCard 100.000.723 แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
  • N[C@@H](Cc1c2ccccc2n ([H]) c1) C (O) =O
คุณสมบัติ
C11H12N2O2
มวลโมเลกุล 204.229 g·mol−1
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa

ทริปโตเฟน (Tryptophan;ย่อ Trp หรือ W) [1] เป็นหนึ่งใน 8 กรดอะมิโนที่จำเป็นในความต้องการของมนุษย์ มันถูกเข้ารหัสในรหัสทางพันธุกรรมพื้นฐานเป็นโคดอน UGG เพียงแค่ L-สเตอริโอไอโซเมอร์ของทริปโตเฟนเท่านั้นถูกใช้ในสเกลอโรโปรตีนหรือโปรตีนเอนไซม์ แต่ D-สเตอริโอไอโซเมอร์บางครั้งพบในเพปไทด์ที่ถูกสร้างขึ้นตามธรรมชาติ (ตัวอย่าง คอนทริปเฟนเพปไทด์พิษทะเล) [2] ลักษณะโครงสร้างเด่นของทริปโตเฟนคือบรรจุด้วยหมู่ฟังก์ชันอินโดล

อ้างอิง

[แก้]
  1. IUPAC-IUBMB Joint Commission on Biochemical Nomenclature. "Nomenclature and Symbolism for Amino Acids and Peptides". Recommendations on Organic & Biochemical Nomenclature, Symbols & Terminology etc. สืบค้นเมื่อ 2007-05-17.
  2. Pallaghy PK, Melnikova AP, Jimenez EC, Olivera BM, Norton RS (1999). "Solution structure of contryphan-R, a naturally-occurring disulfide-bridged octapeptide containing D-tryptophan: comparison with protein loops". Biochemistry. 38 (35): 11553–9. doi:10.1021/bi990685j. PMID 10471307.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)