จุนสี
Crystals of CuSO4·5H2O
| |
Portion of the structure of the pentahydrate
(sulfate links Cu(H2O)2+4 centers) | |
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
Copper(II) sulfate
| |
ชื่ออื่น
| |
เลขทะเบียน | |
| |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.028.952 |
EC Number |
|
8294 | |
KEGG | |
ผับเคม CID
|
|
RTECS number |
|
UNII |
|
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
CuSO4 (anhydrous) CuSO4·5H2O (pentahydrate) | |
มวลโมเลกุล | 159.60 g/mol (anhydrous)[2] 249.685 g/mol (pentahydrate)[2] |
ลักษณะทางกายภาพ | gray-white (anhydrous) blue (pentahydrate) |
ความหนาแน่น | 3.60 g/cm3 (anhydrous)[2] 2.286 g/cm3 (pentahydrate)[2] |
จุดหลอมเหลว | 110 องศาเซลเซียส (230 องศาฟาเรนไฮต์; 383 เคลวิน) decomposes
560 °C decomposes[2](pentahydrate) Fully decomposes at 590 °C (anhydrous) |
จุดเดือด | decomposes to cupric oxide at 650 °C |
pentahydrate 316 g/L (0 °C) 2033 g/L (100 °C) anhydrous 168 g/L (10 °C) 201 g/L (20 °C) 404 g/L (60 °C) 770 g/L (100 °C)[3] | |
ความสามารถละลายได้ | anhydrous insoluble in ethanol[2] pentahydrate soluble in methanol[2] 10.4 g/L (18 °C) insoluble in ethanol and acetone |
1330·10−6 cm3/mol | |
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.724–1.739 (anhydrous)[4] 1.514–1.544 (pentahydrate)[5] |
โครงสร้าง | |
Orthorhombic (anhydrous, chalcocyanite), space group Pnma, oP24, a = 0.839 nm, b = 0.669 nm, c = 0.483 nm.[6] Triclinic (pentahydrate), space group P1, aP22, a = 0.5986 nm, b = 0.6141 nm, c = 1.0736 nm, α = 77.333°, β = 82.267°, γ = 72.567°[7] | |
อุณหเคมี | |
Std molar
entropy (S⦵298) |
5 J/(K·mol) |
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
−769.98 kJ/mol |
เภสัชวิทยา | |
V03AB20 (WHO) | |
ความอันตราย | |
GHS labelling: | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
จุดวาบไฟ | ไม่ติดไฟ |
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |
LD50 (median dose)
|
300 mg/kg (oral, rat)[9]
87 mg/kg (oral, mouse) |
NIOSH (US health exposure limits): | |
PEL (Permissible)
|
TWA 1 mg/m3 (as Cu)[8] |
REL (Recommended)
|
TWA 1 mg/m3 (as Cu)[8] |
IDLH (Immediate danger)
|
TWA 100 mg/m3 (as Cu)[8] |
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | anhydrous pentahydrate |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แคทไอออนอื่น ๆ
|
|
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
จุนสี หรือ คอปเปอร์(II)ซัลเฟต (อังกฤษ: Copper (II) sulphate) เป็นสารประกอบของทองแดง กำมะถันและออกซิเจน ที่มีสูตรทางเคมี CuSO4 เกลือจุนสีพบได้หลายรูปแบบตามจำนวนโมเลกุลน้ำที่ประกอบอยู่ในผลึก จุนสีสะตุหรือจุนสีที่ปราศจากน้ำ (anhydrous) เป็นผงสีเทาขาว ขณะที่จุนสีที่พบได้บ่อยมีน้ำ 5 โมเลกุล (pentahydrate) มีสีฟ้าสด สารเคมีนี้ใช้ประโยชน์เป็นสารปราบวัชพืช สารกำจัดสัตว์และแมลงรบกวน สารฆ่าเชื้อรา
ในตำรายาบางครั้งเรียกจุนสีว่ากำมะถันเขียว แต่เดิมผลิตจากน้ำฉีดแร่ในเหมืองทองแดง นำมาต้มให้น้ำระเหย ใช้เป็นยาถอนพิษ กัดหูดและคุดทะราด ในภาษาไทยโบราณจะเรียกสีของจุนสีว่าสีเขียว [10]
การเตรียม
[แก้]การผลิตจุนสีในเชิงอุตสาหกรรมทำได้โดยนำโลหะทองแดงไปทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกเข้มข้น หรือนำคอปเปอร์ออกไซด์ไปทำปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกเจือจาง
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Varghese, J. N.; Maslen, E. N. (1985). "Electron density in non-ideal metal complexes. I. Copper sulphate pentahydrate". Acta Crystallogr. B. 41 (3): 184–190. doi:10.1107/S0108768185001914.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 Haynes, p. 4.62
- ↑ Rumble, John, บ.ก. (2018). CRC Handbook of Chemistry and Physics (ภาษาอังกฤษ) (99th ed.). CRC Press, Taylor & Francis Group. p. 5-179. ISBN 9781138561632.
- ↑ Anthony, John W.; Bideaux, Richard A.; Bladh, Kenneth W.; Nichols, Monte C., บ.ก. (2003). "Chalcocyanite" (PDF). Handbook of Mineralogy. Vol. V. Borates, Carbonates, Sulfates. Chantilly, VA, US: Mineralogical Society of America. ISBN 978-0962209741.
- ↑ Haynes, p. 10.240
- ↑ Kokkoros, P. A.; Rentzeperis, P. J. (1958). "The crystal structure of the anhydrous sulphates of copper and zinc". Acta Crystallographica. 11 (5): 361–364. doi:10.1107/S0365110X58000955.
- ↑ Bacon, G. E.; Titterton, D. H. (1975). "Neutron-diffraction studies of CuSO4 · 5H2O and CuSO4 · 5D2O". Z. Kristallogr. 141 (5–6): 330–341. Bibcode:1975ZK....141..330B. doi:10.1524/zkri.1975.141.5-6.330.
- ↑ 8.0 8.1 8.2 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0150". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ Cupric sulfate. US National Institutes of Health
- ↑ ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556.หน้า 42-43