เอสทีเอส-27

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก STS-27)
STS-27
กระสวยอวกาศแอตแลนติส กำลังบินขึ้นสู่วงโคจร
เครื่องหมายภารกิจ
แถวข้างหลัง จากซ้าย-ไปขวา: Shepherd, Mullane. Front row
จากซ้าย-ไปขวา: Gardner, Gibson, Ross.
ข้อมูลทั่วไป
ผู้ควบคุมนาซา
ระยะเวลาภารกิจ4 วัน, 9 ชั่วโมง, 5 นาที, 37 วินาที
ระยะทางในการเดินทาง2,916,252 กิโลเมตร (1,812,075 ไมล์)
วงโคจรที่เข้าสำเร็จ68
ลูกเรือ
จำนวนลูกเรือ5 คน
สมาชิกRobert L. Gibson
Guy S. Gardner
Richard M. Mullane
Jerry L. Ross
William M. Shepherd
เริ่มภารกิจ
ข้อมูล2 ธันวาคม ค.ศ. 1988,
14:30:34 UTC
ที่ปล่อยศูนย์อวกาศเคนเนดี
สิ้นสุดภารกิจ
ข้อมูล6 ธันวาคม ค.ศ. 1988,
23:36:11 UTC
ที่ลงจอดฐานทัพอากาศเอ็ดเวิรด์
ภารกิจ
ก่อนหน้านี้ STS-26
หลังจากนี้ STS-29

STS-27 เป็นภารกิจการส่งกระสวยอวกาศของนาซาครั้งที่ 27 และเป็นเที่ยวบินครั้งที่ 3 ของกระสวยอวกาศแอตแลนติส STS-27 ถูกเริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม ค.ศ. 1988 ใช้เวลาในการปฏิบัติภารกิจสี่วัน เป็นภารกิจการส่งกระสวยอวกาศครั้งที่สองหลังจากที่เกิดเหตุภัยพิบัติกระสวยอวกาศแชลเลนเจอร์เมื่อมกราคม ค.ศ. 1986 ข้อมูลของ STS-27 ถูกจัดเก็บโดยกระทรวงกลาโหมสหรัฐ ระบบบกันความร้อนของกระสวยอวกาศในภารกิจนี้ได้รับความเสียหายอย่างมากในระหว่างการลิฟ-ออฟ (lift-off) ซึ่งยังกระทบกับปีกด้านขวาของกระสวยอวกาศอีกด้วย ฮูต กิบสัน เมื่อเขาได้เห็นความเสียหายของกระสวยอวกาศ เขาได้กล่าวว่า "วีอาร์โกอิ่งทูดาย" (พวกเรากำลังไปสู่ความตาย)[1] เหตุการณ์นี้มีความคล้ายคลึงกับเหตุการณ์ของ STS-107 เมื่อ 15 ปีที่แล้วที่เกิดจากระบบความร้อนเสียหายระหว่างกับโลก แต่เหตุการณ์ในกระสวยอวกาศภารกิจนี้สามารถขึ้นสู่วงโคจรได้สำเร็จ และปฏิบัติภารกิจได้สำเร็จ

สมาชิก[แก้]

ตำแหน่ง นักบินอวกาศ
ผู้บังคับบัญชา Robert L. Gibson
ขึ้นสู่อวกาศThird
นักบิน Guy S. Gardner
ขึ้นสู่อวกาศFirst
ผู้ปฏิบัติการภารกิจชำนาญคนที่ 1 Richard M. Mullane
ขึ้นสู่อวกาศSecond
ผู้ปฏิบัติการภารกิจชำนาญคนที่ 2 Jerry L. Ross
ขึ้นสู่อวกาศSecond
ผู้ปฏิบัติการภารกิจชำนาญคนที่ 3 William M. Shepherd
ขึ้นสู่อวกาศFirst

ตำแหน่งสมาชิก[แก้]

ตำแหน่ง[2] ตอนขึ้น ตอนลงจอด
ตำแหน่งที่ 1–4 อยู่ในชั้นไฟต์เด้ก / ตำแหน่งที่ 5–7 อยู่ในชั้นมิดเด้ก
S1 Gibson Gibson
S2 Gardner Gardner
S3 Mullane Shepherd
S4 Ross Ross
S5 Shepherd Mullane

เวค-อัพคอส์[แก้]

เป็นธรรมเนียมที่ปฏิบัติกันมาอย่างยาวนานในการปลุกนักบินอวกาศด้วยเสียงเพลง เริ่มต้นครั้งแรกในภารกิจอะพอลโล 15[3] แต่ละเสียงจะถูกเลือกโดยครอบครัวของนักบินอวกาศที่ปฏิบัติภารกิจ โดยปกติเสียงเหล่านี้จะมีความหมายพิเศษในการปฏิบัติภารกิจของนักบินอวกาศ[3][4]

วันปฏิบัติภารกิจ เสียง ศิลปิน/นักแต่งเพลง
วันที่ 2 Army fight song
วันที่ 3 "Rawhide" ล้อเลียน ดิมิตรี ไทโอมกิน
วันที่ 4 "Do You Want to Know a Secret" ล้อเลียน ไมค์ เคฮิลล์

คลังภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

 บทความนี้รวมเอางานสาธารณสมบัติจากองค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติ

  1. Tell Me A Story: Astronaut Hoot Gibson's and Atlantis' Close Call (posted to YouTube on Apr 25, 2015, by Kennedy Space Center Visitor Complex)
  2. "STS-27". Spacefacts. สืบค้นเมื่อ 26 February 2014.
  3. 3.0 3.1 Fries, Colin (20 April 2010). "Chronology of Wakeup Calls" (PDF). NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-12-20. สืบค้นเมื่อ 24 May 2010.
  4. Fries, Colin (25 June 2007). "Chronology of Wakeup Calls" (PDF). NASA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-12-20. สืบค้นเมื่อ 13 August 2007.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]