นิวเจแปนโปรเรสต์ลิง
โลโก้นิวเจแปนโปรเรสต์ลิงตั้งแต่ปี ค.ศ. 1972 | |
สำนักงานใหญ่นิวเจแปนโปรเรสต์ลิงใน เขตชินางาวะ โตเกียว ในปี 2017 | |
ชื่อทางการค้า | New Japan Pro-Wrestling |
---|---|
ชื่อท้องถิ่น | 新日本プロレスリング株式会社 |
ชื่อโรมัน | Shin Nihon Puroresuringu Kabushiki-kaisha |
ประเภท | บริษัทย่อย |
อุตสาหกรรม | มวยปล้ำอาชีพ สื่อส่งผ่านสัญญาณต่อเนื่อง |
ก่อตั้ง | 13 มกราคม 1972 |
ผู้ก่อตั้ง | Antonio Inoki |
สำนักงานใหญ่ | JR Tokyu Meguro Building, 16F, 3-1-1 Kamiosaki, Shinagawa, Tokyo, Japan[1] |
พื้นที่ให้บริการ | ทั่วโลก |
บุคลากรหลัก | Naoki Sugabayashi (Chairman) Takami Ohbari (President & CEO) |
ผลิตภัณฑ์ |
|
บริการ | ใบอนุญาต |
รายได้ | 5.4 พันล้านเยน (2019[2]) |
เจ้าของ | บูชิโรด[3][2] (majority owner – 85%) ทีวีอาซาฮิ[2] (minority owner – 10%) อะมิวส์[2] (minority owner – 5%) |
พนักงาน | 83 (2019[2]) |
แผนก | หน่วยงาน
|
บริษัทในเครือ | Lion's Break New Japan Pro-Wrestling of America[4] |
เว็บไซต์ |
|
นิวเจแปนโปรเรสต์ลิง หรือ เอ็นเจพีดับเบิลยู (อังกฤษ: New Japan Pro-Wrestling; ญี่ปุ่น: 新日本プロレス; โรมาจิ: Shin Nihon Puroresu) เป็นสมาคมมวยปล้ำอาชีพของญี่ปุ่น ก่อตั้งโดยแอนโตนิโอะ อิโนกิ เมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1972 ภายใต้บริษัทยูกีเป็นผู้ถือหุ้นหลัก ตั้งแต่ ค.ศ. 2005 เมื่ออิโนกิขายกิจการ นาโอกิ ซูกะบะยะชิ เป็นประธานคนปัจจุบันของการส่งเสริมและการดำรงตำแหน่งในปี ค.ศ. 2007[5] เนื่องจากรายการโทรทัศน์ในออกอากาศในทีวี อาซาฮี จะเป็นสมาคมมวยปล้ำที่ใหญ่ที่สุดในประเทศญี่ปุ่นและหนึ่งที่ใหญ่ที่สุดในโลก จากการสร้างใน ค.ศ. 1972 จนถึง ค.ศ. 1986 เอ็นเจพีดับเบิลยูได้เป็นสมาชิกของแนชั่นแนลเรสต์ลิงแอไลแอนซ์ เอ็นเจพีดับเบิลยูเป็นที่รู้จักกันอย่างเปิดเผยมีส่วนร่วมในข้อตกลงการทำงานร่วมกันต่าง ๆ เอ็มเอ็มเอ และโปรเรสต์ลิงโปรโมชั่น ในทั่วโลกรวมทั้งเวิลด์เรสต์ลิงเอ็นเตอร์เทนเมนต์, เวิลด์แชมเปี้ยนชิพเรสต์ลิง, โทเทิลนอนสต็อปแอคเชินเรสต์ลิง, วอร์, ริงออฟออเนอร์, พริดไฟร์ติ้งแชมเปี้ยนชิพส และ เจอร์เซอร์ออลล์โปรเรสต์ลิง[5] และอื่น ๆ ในเอ็มเอ็มเอ และสมาคมมวยปล้ำอาชีพ
แชมเปี้ยนชิพที่ใช้ในปัจจุบัน
[แก้]การแข่งขันชิงแชมป์รับการยอมรับโดย เอ็นเจพีดับเบิลยู ที่เรียกว่า อินเตอร์เนชั่นแนลเรสต์ลิงกรังด์ปรีซ์ (ไอดับเบิลยูจีพี).
ทัวร์นาเมนต์ประจำปี
[แก้]ทัวร์นาเมนต์ | ผู้ชนะ | วันที่ชนะ | ประเภท | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
จี1 ไคล์แม็กซ์ | เทะสึยะ ไนโตะ | 13 สิงหาคม ค.ศ.2017 | โอเพนเวท | เป็นทัวร์นาเมนท์ที่ใหญ่ที่สุดประจำปีของเอ็นเจพีดับเบิลยู, ส่วนใหญ่สำหรับรุ่นเฮฟวี่เวทแต่มีข้อจำกัดคือ ไม่มีน้ำหนักในการแข่งขันอย่างเป็นทางการ รูปแบบการแข่งขันแบบพบกันหมด และผู้ชนะจะได้สิทธิ์ชิงแชมป์ ไอดับเบิลยูจีพี เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ ที่ศึก เรสเซิล คิงดอม |
เวิลด์ แทก ลีก | ธันวาคม ค.ศ.2017 | แทกทีม | เป็นทัวร์นาเมนท์แทกทีมประจำปีของเอ็นเจพีดับเบิลยู รูปแบบการแข่งขันแบบพบกันหมด และผู้ชนะจะได้สิทธิ์ชิงแชมป์ ไอดับเบิลยูจีพี แทกทีม แชมเปี้ยนชิพ | |
นิวเจแปนคัพ | คะสึโยริ ชิบะตะ | 20 มีนาคม ค.ศ.2017 | โอเพนเวท | การแข่งขันแบบแพ้คัดออก |
เบสท์ออฟเดอะซุปเปอร์จูเนียร์ส | คุชิดะ | 3 มิถุนายน ค.ศ.2017 | จูเนียร์ เฮฟวี่เวท | เป็นทัวร์นาเมนท์ประจำปีที่มีรุ่นจูเนียร์ เฮฟวี่เวทชั้นนำจากทั่วทุกมุมโลก รูปแบบการแข่งขันแบบพบกันหมด และผู้ชนะจะได้สิทธิ์ชิงแชมป์ ไอดับเบิลยูจีพี จูเนียร์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ |
ซุปเปอร์เจคัพ | คุชิดะ | 21 สิงหาคม ค.ศ.2016 | จูเนียร์ เฮฟวี่เวท | เป็นทัวร์นาเมนท์รูปแบบการแข่งขันแบบแพ้คัดออก ที่มีรุ่นจูเนียร์ เฮฟวี่เวทชั้นนำจากทั่วทุกมุมโลก ทัวร์นาเมนต์ที่ได้รับการจัดโดยสมาคมอื่น ๆ ที่นอกเหนือจาก เอ็นเจพีดับเบิลยู เช่นกัน และผู้ชนะจะได้สิทธิ์ชิงแชมป์ ไอดับเบิลยูจีพี จูเนียร์ เฮฟวี่เวท แชมเปี้ยนชิพ |
ซุปเปอร์ จูเนียร์ แท็ค ทัวร์นาเมนท์ | รปปงงิ ไวซ์ | 5 พฤศจิกายน ค.ศ.2016 | จูเนียร์ เฮฟวี่เวท แทกทีม | เป็นทัวร์นาเมนท์รูปแบบการแข่งขันแบบพบกันหมด ผู้ชนะจะได้สิทธิ์ชิงแชมป์ ไอดับเบิลยูจีพี จูเนียร์ เฮฟวี่เวท แทกทีม แชมเปี้ยนชิพ |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Company Profile". New Japan Pro-Wrestling (ภาษาญี่ปุ่น). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-02-13. สืบค้นเมื่อ March 27, 2018.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อCompanyProfile
- ↑ 5億円!新日オーナー会社 電撃交代. Nikkan Sports (ภาษาญี่ปุ่น). สืบค้นเมื่อ 2012-04-11.
- ↑ "NJPW ANNOUNCES NEW JAPAN PRO WRESTLING OF AMERICA SUBSIDIARY". f4wonline. October 21, 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-23. สืบค้นเมื่อ October 21, 2019.
- ↑ 5.0 5.1 "New Japan Pro Wrestling comes to the U.S." Wrestling Observer Newsletter. October 3, 2010. สืบค้นเมื่อ October 4, 2010.