ข้ามไปเนื้อหา

ไฮฟา

พิกัด: 32°49′09″N 34°59′57″E / 32.81917°N 34.99917°E / 32.81917; 34.99917
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Haifa)
ไฮฟา

חיפה
A collage of Haifa
A collage of Haifa
ธงของไฮฟา
ธง
ตราราชการของไฮฟา
ตราอาร์ม
ไฮฟาตั้งอยู่ในประเทศอิสราเอล
ไฮฟา
ไฮฟา
ที่ตั้งในประเทศอิสราเอล
พิกัด: 32°49′09″N 34°59′57″E / 32.81917°N 34.99917°E / 32.81917; 34.99917
ประเทศธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล
DistrictHaifa
Metropolitan AreaHaifa metropolitan area
การปกครอง
 • ประเภทMayor-council
 • องค์กรHaifa municipality
 • MayorYona Yahav (Labor)
ประชากร
 (2012)[1]
 • ทั้งหมด264,800 คน
 • อันดับnd in Israel
 • อันดับความหนาแน่นth in Israel
Ethnicity
เขตเวลาUTC+2 (IST)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+3 (IDT)
Area code+972 (Israel) (City)
เว็บไซต์haifa.muni.il
ทิวทัศน์เมืองไฮฟาเมื่อมองจากบาไฮการ์เดน

ไฮฟา (ฮีบรู: חֵיפָה ‎; อังกฤษ: Haifa) เป็นเมืองขนาดใหญ่ที่สุดทางตอนเหนือของอิสราเอล มีประชากรกว่า 265,000 คน และอีก 300,000 คนที่อาศัยในเมืองติดกันรวมทั้งเมืองของ เกรยอต ตลอดจน ทีเรตคาร์เมล, ดาลียาต อัล-คาร์เมล และ เนชเชอร์ อยู่ร่วมกันในพื้นที่เหล่านี้ในรูปแบบบ้านที่อยู่ติดกัน มีผู้พักอาศัยเกือบ 600,000 คน ซึ่งอยู่ในแกนกลางของเขตไฮฟา[2][3] เป็นเมืองแบบผสม โดยมีผู้คน 90% เป็นชาวยิว กว่าหนึ่งในสี่เป็นผู้อพยพมาจากอดีตสหภาพโซเวียต และมีสายเลือดผสมระหว่างชาวยิวกับกลุ่มชนสลาฟ ในขณะที่ 10% เป็นชาวอาหรับ โดยส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์[4] นอกจากนี้ยังเป็นที่ตั้งของบาไฮเวิลด์เซ็นเตอร์ ซึ่งเป็นหนึ่งในมรดกโลกของยูเนสโกด้วยเช่นกัน[5][6]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "לוח 3.- אוכלוסייה( 1), ביישובים שמנו מעל 2,000 תושבים( 2) ושאר אוכלוסייה כפרית POPULATION(1) OF LOCALITIES NUMBERING ABOVE 2,000 RESIDENTS(2) AND OTHER RURAL POPULATION" (PDF). สืบค้นเมื่อ 2010-01-25. {{cite journal}}: Cite journal ต้องการ |journal= (help)
  2. "Table 3 - Population of Localities Numbering Above 2,000 Residents and Other Rural Population" (PDF). Israel Central Bureau of Statistics. 2010-06-30. สืบค้นเมื่อ 2010-10-30.
  3. "Haifa". Jewish Agency. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-09-26. สืบค้นเมื่อ 2007-05-05.
  4. Haifa เก็บถาวร 2008-10-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, The Jewish Agency for Israel. Retrieved June 20, 2009.
  5. UNESCO World Heritage Centre (2008-07-08). "Three new sites inscribed on UNESCO's World Heritage List". สืบค้นเมื่อ 2008-07-08.
  6. "History of Haifa". สืบค้นเมื่อ 2008-04-11.

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Carmel, Alex (2002). The History of Haifa Under Turkish Rule (4th ed.). Haifa: Pardes. ISBN 965-7171-05-9. (ฮีบรู)
  • Shiller, Eli & Ben-Artzi, Yossi (1985). Haifa and its sites. Jerusalem: Ariel.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) (ฮีบรู)
ภาพพาโนรามาของเมืองไฮฟา เมื่อมองจากภูเขาคาร์เมล

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]