3ซี 273

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก 3C 273)
3C 273
Quasar 3C 273 ที่ถูกถ่ายได้โดย Hubble Space Telescope.[1]
ข้อมูลการสังเกตการณ์ (ต้นยุคอ้างอิง J2000)
กลุ่มดาวกลุ่มดาวหญิงสาว
ไรต์แอสเซนชัน12h 29m 06.7s[2]
เดคลิเนชัน+02° 03′ 09″[2]
การเคลื่อนไปทางแดง0.158339 ± 0.000067[2]
ระยะทาง2.443 Gly (749 Mpc)[3][4] (luminosity distance)
ประเภทเบลซาร์; Sy1[2]
ความส่องสว่างปรากฏ (V)12.9[2]
คุณสมบัติโดดเด่นควาซาร์ที่สว่างที่สุดเท่าที่มองเห็น, สเปกตรัมแรกของควาซาร์
ชื่ออื่น
PGC 41121[2] and HIP 60936
ดูเพิ่ม: เควซาร์, รายชื่อของเควซาร์

3ซี 273 (อังกฤษ: 3C 273) เป็นเควซาร์ในกลุ่มดาวหญิงสาว มันเป็นควาซาร์แห่งแรกที่ตรวจสอบได้ มันเป็นควาซาร์ที่สว่างที่สุดในท้องฟ้า (ความส่องสว่างปรากฏ ~ 12.9) นอกจากนี้ยังเป็นหนึ่งในควาซาร์ที่ส่องสว่างมากที่สุดซึ่งมีความส่องสว่างสัมบูรณ์เท่ากับ 26.7[5] หมายความว่าหากอยู่ห่างจากพอลลักซ์เพียงประมาณ 10 พาร์เซกมันก็จะสว่างบนท้องฟ้าเกือบเท่ากับดวงอาทิตย์ เนื่องจากความส่องสว่างสัมบูรณ์ของดวงอาทิตย์คือ 4.83 หมายความว่าควาซาร์นั้นมีความส่องสว่างมากกว่าดวงอาทิตย์ในช่วงความยาวคลื่นที่มองเห็นได้ 4 ล้านล้านเท่า มวลของหลุมดำใจกลางวัดได้เป็น 886 ± 187 ล้านมวลดวงอาทิตย์[6]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Best image of bright quasar 3C 273". ESA/Hubble Picture of the Week. สืบค้นเมื่อ 20 November 2013.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 "NASA/IPAC Extragalactic Database". Results for 3C 273. สืบค้นเมื่อ 2006-10-26.
  3. "3C 273". XJET: X-Ray Emission from Extragalactic Radio Jets. 2008-01-11. สืบค้นเมื่อ 2010-04-05.
  4. Uchiyama, Yasunobu; Urry, C. Megan; Cheung, C. C.; Jester, Sebastian; Van Duyne, Jeffrey; Coppi, Paolo; และคณะ (2006). "Shedding New Light on the 3C 273 Jet with the Spitzer Space Telescope". The Astrophysical Journal. 648 (2): 910–921. arXiv:astro-ph/0605530. Bibcode:2006ApJ...648..910U. doi:10.1086/505964.
  5. "The Quasi-Stellar Radio Sources 3C 48 and 3C 273". The Astrophysical Journal. Bibcode:1964ApJ...140....1G. doi:10.1086/147889. สืบค้นเมื่อ 25 April 2014.
  6. Peterson, B. M.; Ferrarese, L.; Gilbert, K. M.; Kaspi, S.; Malkan, M. A.; Maoz,D.; และคณะ (2004). "Central Masses of AGNs. II". The Astrophysical Journal. 613 (2): 682–699. arXiv:astro-ph/0407299. Bibcode:2004ApJ...613..682P. doi:10.1086/423269.