แฮมีด นอเดรี เยกอเน
แฮมีด นอเดรี เยกอเน | |
---|---|
![]() แฮมีด นอเดรี เยกอเน ยืนหน้างานศิลปะที่มีชื่อว่า "อะเบิร์ดอินไฟลต์" | |
เกิด | 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 โกม ประเทศอิหร่าน |
สัญชาติ | อิหร่าน |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแชรีฟ (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยโกม (วิทยาศาสตรบัณฑิต) |
มีชื่อเสียงจาก | ศิลปะคณิตศาสตร์ |
ผลงานเด่น | อะเบิร์ดอินไฟลต์, เรือ, แฟร็กทัลแอฟริกา |
แฮมีด นอเดรี เยกอเน (เปอร์เซีย: حمید نادری یگانه; เกิดวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ในประเทศอิหร่าน)[1] เป็นศิลปินคณิตศาสตร์และศิลปินดิจิทัลชาวอิหร่าน[2][3][4][5][6][7] เขาเป็นที่รู้จักจากการใช้สูตรคณิตศาสตร์วาดภาพวัตถุในชีวิตจริง, ภาพประกอบที่ซับซ้อน, แอนิเมชัน, แฟร็กทัล และเทสเซลเลชัน[8][9][10][11][12] นอเดรี เยกอเนใช้คณิตศาสตร์เป็นเครื่องมือหลักในการสร้างสรรค์ผลงาน[13] ดังนั้น ผลงานของเขาจึงมีแนวคิดแบบคณิตศาสตร์[14][2][15] แนวคิดคณิตศาสตร์ที่เขาใช้ในผลงาน ได้แก่ ฟังก์ชันตรีโกณมิติ, ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง, จำนวนฟีโบนัชชี และคลื่นฟันเลื่อย เป็นต้น[16][17][18][19]
ภาพ[แก้]
ข้างล่างนี้คือตัวอย่างภาพบางส่วนของเยกอเน:[20]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ "دانشگاه قم/مصاحبه با آقای..." (ภาษาเปอร์เซีย). University of Qom. สืบค้นเมื่อ April 20, 2015.[ลิงก์เสีย]
- ↑ 2.0 2.1 Zhao, Han (2018-05-07). "Can an algorithm be art?". Christian Science Monitor. ISSN 0882-7729. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-05-08. สืบค้นเมื่อ 2018-05-09.
- ↑ Crum, Maddie (August 18, 2015). "These Delicate Drawings Are The Handiwork Of A Very Smart Computer". The Huffington Post. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 21, 2015. สืบค้นเมื่อ August 23, 2015.
- ↑ Smith, Belinda (February 29, 2016). "The art and beauty of mathematics". Cosmos. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 14, 2016. สืบค้นเมื่อ July 8, 2016.
- ↑ Antonick, Gary (January 5, 2015). "The Chess Master". The New York Times (blog). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ March 30, 2015. สืบค้นเมื่อ March 19, 2015.
- ↑ Gustlin, Deborah. "15.4: Digital Art". LibreTexts. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2020. สืบค้นเมื่อ 19 March 2020.
- ↑ "When Art and Math Entwine: 10 Inspiring Works Showcase the Aesthetic Side of Math". Research & Development World. WTWH Media LLC. February 23, 2016. สืบค้นเมื่อ 24 March 2020.
- ↑ MacDonald, Fiona (February 19, 2016). "7 times mathematics became art and blew our minds". Science Alert. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 29, 2017. สืบค้นเมื่อ January 23, 2017.
- ↑ Chung, Stephy (September 18, 2015). "Next da Vinci? Math genius using formulas to create fantastical works of art". CNN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 2, 2017. สืบค้นเมื่อ January 23, 2017.
- ↑ Ash, Summer (January 24, 2016). "Week in Geek: Theoretical planet edition". MSNBC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 February 2020. สืบค้นเมื่อ 24 February 2020.
- ↑ Passaro, Davide. "Matematica e arti visive: percorsi interdisciplinari fra matematica, arte e coding". Maddmaths!. SIMAI Società Italiana di Matematica Applicata e Industriale. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-02-03. สืบค้นเมื่อ 2019-02-04.
- ↑ Grandi, C. (May 2020). "Using Art to Teach Mathematics". Mathematics in School. Mathematical Association. 49 (3): 2–7.
- ↑ 林桂光 (24 October 2020). "編程的技術應用與學習表現" [Application of Programming Technology and Learning Performance]. MASTER-INSIGHT.COM (ภาษาจีน). สืบค้นเมื่อ 27 October 2020.
- ↑ "STEAM Series: Math and Art" (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). West Windsor Arts Council. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-29. สืบค้นเมื่อ 2019-07-29.
- ↑ "West Windsor Arts Center- Opening Reception For STEAM". CentralJersey.com (ภาษาอังกฤษ). Packet Media, LLC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-29. สืบค้นเมื่อ 2019-07-29.
- ↑ "Teaching Coding Languages in Noncoding Courses". New York University, Faculty of Arts & Science. September 6, 2019. สืบค้นเมื่อ 20 October 2020.
- ↑ Naderi Yeganeh, Hamid. "Importing Things From the Real World Into the Territory of Mathematics!". Huffington Post (blog).
- ↑ "Hamid Naderi Yeganeh: Fractal Africa". The De Morgan Forum – London Mathematical Society. September 21, 2016. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 11, 2016. สืบค้นเมื่อ October 10, 2016.
- ↑ Naderi Yeganeh, Hamid. "Using the Sawtooth Wave to Create Some Beautiful Images". HuffPost. สืบค้นเมื่อ 20 October 2020.
- ↑ "Mathematical Concepts Illustrated by Hamid Naderi Yeganeh". American Mathematical Society. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ July 29, 2019. สืบค้นเมื่อ July 29, 2019.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
หมวดหมู่:
- บทความที่มีลิงก์เสียตั้งแต่ธันวาคม 2022
- แม่แบบสถานีย่อยที่มีลิงก์สถานีย่อยสีแดง
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2533
- แฮมีด นอเดรี เยกอเน
- ศิลปินคณิตศาสตร์
- ศิลปินดิจิตอล
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- นักออกแบบชาวอิหร่าน
- ศิลปินแฟร็กทัล
- ศิลปินร่วมสมัยชาวอิหร่าน
- ศิษย์เก่าจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีแชรีฟ
- นักคณิตศาสตร์ชาวอิหร่าน
- ศิลปินชายในศตวรรษที่ 21
- บุคคลจากโกม
- ศิลปะดิจิทัล