แม่แบบ:กล่องข้อมูล พื้นที่คุ้มครอง/doc

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ใช้แม่แบบนี้กับสถานที่ที่เป็นพื้นที่คุ้มครอง

แม่แบบว่าง[แก้]

คัดลอกแม่แบบด้านล่างนี้ลงไปในบทความ จากนั้นให้เติมข้อมูลในช่องว่าง ดูด้านล่างสุดเป็นตัวอย่าง


{{Infobox Protected area
| name = 
| iucn_category = 
| photo = 
| photo_caption = 
| photo_width = 
| map = 
| map_caption = 
| map_width = 
| location = 
| nearest_city = 
| lat_d = 
| lat_m = 
| lat_s = 
| lat_NS = 
| long_d = 
| long_m = 
| long_s = 
| long_EW = 
| coords_ref =
| region = 
| area = 
| established = 
| visitation_num = 
| visitation_year = 
| governing_body = 
| world_heritage_site = 
| url = 
}}

คำอธิบายหัวข้อที่ให้เติมข้อมูล[แก้]

หัวข้อ คำอธิบาย
name ชื่อทางการของพื้นที่คุ้มครอง จะอยู่ที่ตำแหน่งบนสุดของกล่องข้อมูล (ต้องใส่)
ตัวอย่าง: บทความเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครองคืออนุสาวรีย์วอชิงตัน ให้ลงข้อมูล name = อนุสาวรีย์วอชิงตัน
native_name ชื่อของพื้นที่คุ้มครอง ในภาษาท้องถิ่น
ตัวอย่าง: native_name = Washington Monument
iucn_category หมวดหมู่ที่สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติจัดให้กับพื้นที่คุ้มครอง หมวดหมู่ที่ใส่เป็นข้อมูลได้มีดังนี้: Ia, Ib, II, III, IV, V และ VI (ควรใส่)
photo ชื่อของภาพถ่าย ไม่ต้องทำการจัดรูปแบบใดๆ
photo_caption คำบรรยายใต้ภาพถ่าย ต้องใส่ถ้ามีภาพถ่าย
photo_width ความกว้างของภาพถ่าย เปลี่ยนค่าถ้าภาพถ่ายมีสัดส่วนไม่พอดีกับกล่องข้อมูล ค่าตั้งต้นอยู่ที่ 288 พิกเซล ปกติแล้วภาพถ่ายแนวนอนจะแสดงผลออกมาได้ดี แต่สำหรับภาพถ่ายแนวตั้ง อาจจะต้องเปลี่ยนค่าเป็นระหว่าง 180-220 พิกเซล
map ชื่อของแผนที่ที่ใช้แสดง
map_caption คำบรรยายใต้แผนที่ (ใส่หรือไม่ใส่แล้วแต่ความเหมาะสม)
map_width ความกว้างของแผนที่ เปลี่ยนค่าถ้าแผนที่มีสัดส่วนไม่พอดีกับกล่องข้อมูล ค่าตั้งต้นอยู่ที่ 288 พิกเซล แต่ปกติแล้วแผนที่จะเล็กกว่านั้นมาก จะแสดงผลไม่ถูกต้องถ้าใช้ Compatability Mode ใน Internet Explorer 8
locator_x
locator_y
สองหัวข้อนี้ให้ใช้ถ้าจะสร้างกล่องข้อมูลขึ้นมาใหม่ หรือไว้ใช้ระบุตำแหน่งมาร์คเกอร์ในแผนที่บางประเภท และระบุพิกัดของมาร์คเกอร์ในหน่วยพิกเซล
label ข้อมูลดังกล่าวจะแสดงขึ้นเมื่อเอาเมาส์พอยน์เตอร์ไปชี้บนมาร์คเกอร์ ข้อมูลจะถูกแสดงข้างๆ มาร์กเกอร์ถ้ามีการตั้งค่าให้ label_position ถ้าค่าดังกล่าวไม่ใช่ none ถ้าไม่มีข้อมูลในหัวข้อ label ข้อมูลในหัวข้อ name จะถูกใช้แทน
label_position ระบุตำแหน่งของลาเบลซึ่งสอดคล้องกับตำแหน่งมาร์คเกอร์ ไม่แสดงผลใน Compatability Mode ข้อมูลที่ใช้ได้ได้แก่ left (ชิดซ้าย), right (ชิดขวา), top (ชิดบน), bottom (ชิดล่าง) และ none (ไม่ระบุ) ค่าตั้งต้นคือ none เพื่อไม่ให้ข้อมูลว่างแสดงออกมาถ้าไม่มีข้อมูล
location ตำแหน่งของพื้นที่คุ้มครอง ไล่ความสำคัญจากน้อยไปหามาก อาทิเช่น ในสหรัฐฯ ให้ระบุเมือง รัฐ ประเทศ ตามลำดับ หรือถ้าเป็นในประเทศไทยให้ระบุ อำเภอ จังหวัด และประเทศ ตามลำดับ
nearest_city ถ้าตำแหน่งของพื้นที่คุ้มครองไม่ใช่เมือง ให้ลงข้อมูลลงในหัวข้อนี้ ข้อมูลควรจะเป็นสนามบินขนาดใหญ่ หรือเมืองใกล้เคียงที่มีขนาดใหญ่พอสมควร
coords ถ้าใช้ {{Coord}} ในการระบุพิกัด จะไม่มีมาร์คเกอร์บนแผนที่ และทำให้หัวข้อ region, scale, source, format และ display ไม่แสดงออกมาในกล่องข้อมูล แต่สามารถใส่ข้อมูลดังกล่าวลงไปใน แม่แบบ:Coord ได้
lat_d องศาของละติจูด ให้ระบุเป็นองศาในหลักทศนิยม แต่ถ้าใช้หลักเป็นนาทีและวินาทีไม่ต้องระบุ
lat_m นาทีของละติจูด
lat_s วินาทีของละติจูด
lat_NS ให้ระบุเป็น N ถ้าอยู่ทางทิศเหนือจากเส้นศูนย์สูตร และ S ถ้าอยู่ทางทิศใต้ของเส้นศูนย์สูตร ถ้าระบุเป็นค่าอื่นจะไม่แสดงผล
long_d องศาของลองติจูด ให้ระบุเป็นองศาในหลักทศนิยม แต่ถ้าใช้หลักเป็นนาทีและวินาทีไม่ต้องระบุ
long_m นาทีของลองติจูด
long_s วินาทีของลองติจูด
long_EW ให้ระบุเป็น E ถ้าอยู่ทางทิศตะวันออกของเส้นไพร์มเมอริเดียน และ W ถ้าอยู่ทางทิศตะวันตกของไพร์มเมอริเดียน ถ้าระบุเป็นค่าอื่นจะไม่แสดงผล
coords_ref ใช้ระบุข้อมูลอ้างอิงพิกัด โดยใช้แท็ก <ref>...</ref> หัวข้อนี้ไว้ใช้ร่วมกับหัวข้อ lat และ long ด้านบน (ควรใส่)
type ประเภทของตำแหน่ง ข้อมูลที่ใส่ได้ให้ดูใน เมื่อการระบุประเภทของตำแหน่งจะทำให้สามารถกำหนดอัตราส่วนตั้งต้นของแผนที่ได้ ถ้าอัตราส่วนแผนที่ยังไม่พอดี ให้ใช้หัวข้อ scale ในการกำหนดค่า แต่ถ้าไม่ได้ระบุประเภทให้ไปใส่ข้อมูลในหัวข้อ landmark แทน
scale ค่านี้ใช้กำหนดอัตราส่วนแผ่นที่ในเว็บไซต์นอกวิกิพีเดีย ค่าตั้งต้นคือ 1:10,000
region รหัสภูมิภาค ข้อมูลที่ใส่ได้ให้ดูใน , ISO 3166-2 และ ISO 3166-1 alpha-2
source แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการระบุพิกัด ข้อมูลที่ใส่ได้ให้ดูใน
format รูปแบบในการแสดงพิกัด ให้ลงข้อมูลเป็น dms ถ้าใช้หน่วยเป็นองศา นาทีและวินาที และ decถ้าใช้หน่วยเป็นหลักทศนิยม ควรใช้ dms
display ระบุว่าให้แสดงข้อมูลพิกัดตรงไหน ข้อมูลที่ใส่ได้คือ inline (ในบรรทัด) และinline,title (ในบรรทัดข้างหัวบทความ) ควรใช้ inline,title
area พื้นที่ของสถานที่ที่เป็นพื้นที่คุ้มครอง มีหน่วยเป็นตารางกิโลเมตรโดยมาตรฐาน อาจรวมถึงหน่วยที่เป็นเอเคอร์หรือตารางไมล์ถ้าเป็นสถานที่ในสหรัฐอเมริกา
established วันที่สถานที่ถูกกำหนดให้เป็นพื้นที่คุ้มครอง
visitation_num จำนวนผู้มาเยือนของปีล่าสุด (ล่าสุดเท่าที่เป็นไปได้)
visitation_year ปีที่นับจำนวนผู้มาเยือน
visitation_ref ใช้ระบุข้อมูลอ้างอิงจำนวนผู้มาเยือนโดยใช้แท็ก <ref>...</ref> ใช้ร่วมกันข้อมูลของผู้มาเยือนด้านบน (ควรใส่)
governing_body องค์กรที่เป็นเจ้าของหรือทำหน้าที่ควบคุมพื้นที่คุ้มครอง
world_heritage_site ถ้าพื้นที่คุ้มครองถูกกำหนดให้เป็นมรดกโลก ให้ระบุด้วย
website URL ของเว็บไซต์อย่างเป็นทางการของพื้นที่คุ้มครอง แนะนำให้ใช้หัวข้อ URL ที่อยู่ด้านล่างมากกว่า การจัดรูปแบบให้เป็นการใส่ลิงก์ภายนอก
ตัวอย่าง: [http://www.example.org/ www.example.org]
url เหมือนกับด้านบน แต่ไม่ต้องทำการจัดรูปแบบใดๆ
ตัวอย่าง: http://www.example.org/