เอ็นเอ็มอี
หน้าตา
Editor | Mike Williams (June 2012 – present) |
---|---|
Editor, NME.com | เกร็ก โคเครน (2013 – ปัจจุบัน) |
บรรณาธิการคนก่อน |
|
หมวดหมู่ | นิตยสารดนตรี |
นิตยสารราย | รายเดือน |
ยอดพิมพ์ | 15,830 (ABC Jan - Jun 2014)[1] Print and digital editions. |
ยอดพิมพ์แบบมีการชำระเงิน | 15,000 (2015) - 250,000 (peak)[2] |
ผู้ก่อตั้ง | ธีโอดอร์ อิงแฮม |
ฉบับแรก | 7 มีนาคม ค.ศ. 1952 |
บริษัท | IPC Media – Inspire (Time Inc.) |
ประเทศ | สหราชอาณาจักร |
เมือง | ซัดเอิร์ก, ลอนดอน สหราชอาณาจักร |
ภาษา | อังกฤษ |
เว็บไซต์ | NME.com |
ISSN | 0028-6362 |
นิวมิวสิกเอกซ์เพรส (อังกฤษ: The New Musical Express หรือย่อเป็น เอ็นเอ็มอี (อังกฤษ: NME)) เป็นนิตยสารดนตรีในสหราชอาณาจักร ออกเป็นรายสัปดาห์ตั้งแต่เดือนมีนาคม 1952 นิตยสารมีเนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวกับดนตรีแนวร็อก อัลเทอร์นาทีฟ และอินดี และเป็นนิตยสารฉบับแรกของสหราชอาณาจักรที่รวมมีชาร์ตซิงเกิลไว้ในฉบับวันที่ 14 พฤศจิกายน ค.ศ. 1952 ยุครุ่งเรืองของนิตยสารคือในยุค 1970 โดยเป็นนิตยสารดนตรีของอังกฤษที่ขายดีที่สุดในช่วงนั้น ตั้งแต่ปี 1972-1976 ได้ร่วมใช้การเขียนแบบกอนโซ (Gonzo journalism) ต่อมาเริ่มเขียนงานเกี่ยวกับงานพังก์ร็อก โดยมีนักเขียนอย่างจูลี เบอร์ชิลล์ พอล มอร์ลีย์ โทนี พาร์สันส์ นิตยสารเริ่มจำหน่ายในรูปแบบหนังสือพิมพ์ข่าวดนตรี และค่อย ๆ เปลี่ยนรูปแบบเป็นนิตยสารในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980-1990 และเลิกใช้กระดาษหนังสือพิมพ์ใน ค.ศ. 1998
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ABC Certificates and Reports: New Musical Express". Audit Bureau of Circulations. สืบค้นเมื่อ 16 January 2015.
- ↑ "An old NME is vanquished". The Economist. July 7, 2015. สืบค้นเมื่อ 8 July 2015.