เวชสถิติ
เวชสถิติ (อังกฤษ: Medical Statistics, อ่านว่า เวด-สะ-ถิ-ติ) หมายถึง สถิติทางการแพทย์ หรือการกระทำกับหลักฐานที่เป็นข้อมูลทางการแพทย์ ซึ่งอาจจะเป็นข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพในทางการแพทย์ โดยมีวิธีการกระทำได้แก่ การเก็บรวบรวมข้อมูลทางการแพทย์ การนำเสนอข้อมูลทางการแพทย์ การวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์โดยใช้หลักการทางคณิตศาสตร์ และการนำผลการวิเคราะห์ข้อมูลทางการแพทย์มาสรุป และเพื่อใช้ในการจัดทำรายงานทางการแพทย์ การศึกษาวิจัยต่าง ๆ ในทางการแพทย์ [1][2]
เนื้อหา
เวชสถิติในความหมายทั่วไปทางการแพทย์[แก้]
เวชสถิติ (อังกฤษ: Medical Record Librarian, อ่านว่า เวด-สะ-ถิ-ติ) หมายถึง ตำแหน่งพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบในงานเวชระเบียน ซึ่งมีหน้าที่ในการจัดการงานทางด้านเวชระเบียนตามที่ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบสูงสุดทางด้านเวชระเบียนในสถานบริการสาธารณสุขมอบหมาย โดยงานต่าง ๆ เหล่านั้นอาจเป็นงานห้องบัตร งานสถิติทางการแพทย์ งานให้รหัสโรค งานบันทึกข้อมูลผู้ป่วย งานคัดกรองผู้ป่วย งานด้านคอมพิวเตอร์ หรืองานอื่น ๆ ทางด้านเวชระเบียนที่ได้รับมอบหมาย นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงชื่อโรงเรียนที่ทำการเรียนการสอนทางด้านพื้นฐานเวชระเบียน ซึ่งมีชื่อว่า โรงเรียนเวชสถิติ (อังกฤษ: Medical Record Librarian School) ซึ่งจะมีการเรียนทางด้านเวชระเบียน รหัสโรค สรีรวิทยา กายวิภาคศาสตร์ พื้นฐานทางคลินิก วิธีดำเนินการทางการแพทย์ ศัพท์แพทย์ และสถิติ เป็นวิชาหลัก ต่อมาได้มีการพัฒนาการศึกษาทางด้านเวชสถิติซึ่งจะมีการเรียนที่เปลี่ยนชื่อไปเป็น เวชระเบียน โดยมีการเปลี่ยนจากโรงเรียนเวชสถิติเดิมไปเป็นสาขาวิชาเวชระเบียน วิทยาลัยเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขกาญจนาภิเษก สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข ปัจจุบันได้มีการพัฒนาหลักสูตรให้เป็นหลักสูตรในระดับปริญญาตรีด้านเวชระเบียนด้วย และมีการศึกษาต่อเนื่องในหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต สาขาเวชระเบียน คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งปัจจุบันก็ได้มีการศึกษาจากการปรับปรุงหลักสูตรเป็นหลักสูตร 4 ปี [3][4][2]
บุคลากรทางด้านเวชสถิติ[แก้]
- นักวิชาการเวชสถิติ หรือ นักเวชสถิติ (ตำแหน่งที่มีอยู่ในปัจจุบันคือตำแหน่งนักวิชาการเวชสถิติ ที่มีการบรรจุในโรงพยาบาลที่มีโรงเรียนแพทย์ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2534 แต่ยังไม่สามารถบรรจุบุคลากรในสาขานี้ในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เพราะ ก.พ.ได้กำหนดเพียงตำแหน่ง นักสถิติ เท่านั้น แต่อาจมีชื่อตำแหน่งดังกล่าวในผู้ที่เป็นพนักงานของรัฐที่โรงพยาบาลสามารถกำหนดชื่อตำแหน่งนี้ไว้ได้ ในปัจจุบันมีการกำหนดตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข (เวชสถิติ) ในการรับเข้าเป็นพนักงานราชการของกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นตำแหน่งที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดขึ้นซึ่งอาจไปตรงกับชื่อของบุคลากรด้านเวชสถิตินัก)
- นักวิชาการสถิติ หรือ นักสถิติ (ซึ่งเป็นตำแหน่งตามที่ ก.พ.กำหนดในระดับปริญญาตรีคือ นักวิชาการสถิติ ที่สามารถปรับคุณวุฒิจากตำแหน่ง เจ้าพนักงานสถิติ)
- เจ้าพนักงานเวชสถิติ
- เจ้าหน้าที่เวชสถิติ (เป็นตำแหน่งเดีมที่เคยมีใช้สำหรับบุคลากรที่จบจาก โรงเรียนเวชสถิติ แต่ปัจจุบันให้ใช้ชื่อในตำแหน่ง เจ้าพนักงานเวชสถิติแล้ว)
- ลูกจ้างงานเวชสถิติ
- นักวิชาการรหัสโรค (กรณีที่งานให้รหัสทางการแพทย์ขึ้นกับงานเวชสถิติในบางโรงพยาบาล)
- พนักงานให้รหัสโรค หรือเจ้าหน้าที่ให้รหัสโรค หรือพนักงานรหัส (กรณีที่งานให้รหัสทางการแพทย์ขึ้นกับงานเวชสถิติในบางโรงพยาบาล)
รายละเอียดของตำแหน่งในประเทศไทย[แก้]
ตำแหน่งเจ้าพนักงานเวชสถิติ[แก้]
-ตำแหน่งประเภท หาดใหญ่
-ชื่อสายงาน ออฟโป้ a57
-ชื่อตำแหนงในสายงาน เจ้าพนักงานเวชสถิติ
-ลักษณะงานโดยทั่วไป สายงานนี้คลุมถึงตำแหน่งต่าง ๆ ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับสถิติทางการแพทย์ในขั้นตอนเบื้องต้น ซึ่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเก ี่ ยวกับการจัดเก็บ รวบรวม ข้อมูลและตัวเลขสถิติที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย ซึ่งประกอบด้วยโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ การรักษาพยาบาลและการวิเคราะห์โรคเพ ื่อประโยชนืในการปรับปรุงคุณภาพ ของการรักษาพยาบาลการปรับปรุงและขยายกิจการของโรงพยาบาลและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เก ี่ ยวข้องกับ การรักษาพยาบาลและเพ ื่อประโยชน์แก้การศึกษา ค้นคว้า วิจัยและวางมาตรการในการป้องกันโรค ตลอดจนการวางแผนเกี่ยวกับสาธารณสุขของประเทศในด้านอื่น ๆ ด้วยและปฏิบัติหน้าที่อี่นที่เกี่ยวข้อง
ชื่อระดับตำแหนงในสายงานและระดับตำแหน่ง[แก้]
ระดับตำแหน่ง ปฏิบัติงาน[แก้]
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซ ึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงานด้านเวชสถิติ ตามแนวทางแบบอยย่างขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังน ี้
1. ด้านปฏิบัติการ (1) ให้บริการในงานเวชระเบียน อย่างมีมาตรฐานเพ ื่ อการรักษาดูแลสุขภาพผู้ป่วย (2) ให้บริการ จำแนกประเภทผู้ป่วย เพ ื่ อการส่งผู้ป่วยไปรับการรักษากลุ่มเฉพาะโรค ได้อย่างถูกต้อง (3) ให้รหัสทางการแพทย์ตามมาตรฐานได้อย่างถูกต้องเพื่อใช้ประกอบการปฏิบัติงาน ของบุคลากรทางการแพทย์ (4) เก็บรวบรวมข้อมูลทางการแพทย์ เพื่อจัดทำรายงาน และนำเสนอเจ้าหน้าที่ระดับสูงข ึ้นไป
2. ด้านบริการ
(1) ให้บริการข้อมูลเวชระเบียนและสถิติประเภทต่าง ๆ แก้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บุคลากร ทางการแพทย์ ประชาชน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน ศึกษา อ้างอิงวางแผนงานต่างๆ
(2) ประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกัน เพี่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่าง ราบรื่นและมีประสิทธิภาพ
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้
1. ได้รับประกาศนียบัตรซึ่งมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 2 จากประโยคมัธยมศึกษา ตอนปลายที่ศึกษาวิชาสามัญทางการพยาบาลเวชสถิติหรือทางอื่นที่ ก.พ. กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติ เฉพาะสำหรับตำแหน่งนี้ได้
2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงเวชระเบียน
3. ได้รับประกาศนียบัตรหรือคุณวุฒิอย่างอ ื่ นท ี่ ก.พ. กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับ ตำแหน่งนี้ได้ ความรู้ความสามารถ ทักษะ
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับตำแหน่ง
1. ความรู้ความสามารถที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
2. ทักษะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
3. สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงานในตำแหน่ง
ระดับตำแหน่ง ชำนาญงาน[แก้]
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้างาน ซึ่งไม่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา โดยต้อง กำกับ แนะนำ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ร่วมปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ความสามารถ ประสบการณื และความชำนาญงานดานเวชสถิติปฏิบัติงานที่ตองตัดสินใจหรือแกปญหาที่คอนขางยากและปฏิบัติงาน อื่นตามที่ไดรับมอบหมาย หรือ ปฏิบัติงานในฐานะผูปฏิบัติงานที่มีประสบการณซึ่งไมจำเปนตองใชผูสำเร็จการศึกษาระดับ ปริญญา โดยใชความรูความสามารถ ประสบการณและความชำนาญงานดานเวชสถิติปฏิบัติงานที่ตอง ตัดสินใจหรือแกไขปญหาที่คอนขางยากและปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานท ี่ปฏิบัติในดานตาง ๆ ดังน ี้
1. ดานปฏิบัติการ
(1) ใหบริการในงานเวชระเบียนอยางมีมาตรฐาน ประยกตุ การปฏิบัติงาน วิธีการทำงาน ตัดสินใจแกไขปญหา เพ ื่ อพัฒนาการทำงานใหมีประสิทธิภาพ
(2) ใหรหัสทางการแพทยสำหรบผั ูปวยที่มีภาวะแทรกซอนหลายโรค ตามมาตรฐานได อยางถูกตอง เพ ื่อใชประกอบการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย
(3) ศึกษา คนควา จัดทำรายงานขอมูลสุขภาพ เพ ื่อใหเจ าหนาท ี่ ระดับสูงข ึ้นไปนำไปใช ประกอบการวางแผน และการพัฒนาคุณภาพงานไดอยางเหมาะสม
2. ดานการกำกับดูแล
(1) กำกับดูแลการปฏิบัติงานของผูรวมปฏิบัติงานในระดับรองลงมา เพ ื่อใหสามารถ ปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง
(2) วางระบบและแผนการปฏิบัติงานของตนเอง เพ ื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ
3. ดานบริการ
(1) ใหความรู คำปรึกษา ขอมูลดานเวชระเบียนและสถิติประเภทตางๆ แกหนวยงาน ที่เก ี่ ยวของ บุคลากรทางการแพทย ประชาชน เพ ื่ อนำไปใชประโยชนในการปฏิบัติงาน ศึกษา อางอิง วางแผนงานตาง ๆ
(2) ติดตอ ประสานงานกับหนวยงานท ี่ เก ี่ ยวของท ั้งภายในและภายนอก เพ ื่อใหการ ดำเนินงานเปนไปอยางราบร ื่ นและมีประสิทธิภาพ
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนง
1. มีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนง เจาพนักงานเวชสถิติระดับปฏิบัติงาน และ
2. เคยดำรงตำแหนงประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน มาแลวไมนอยกวา 5 ปกำหนดเวลา 5 ปใหลดเปน 4 ปสำหรับผูมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหนงเจาพนักงานเวชสถิติระดับปฏิบัติงาน ขอ 2 หรือขอ 3 ที่เทียบไดไมต่ำกวาประกาศนียบัตรวิชาชีพช ั้ นสูงหรือดำรงตำแหนงอ ื่ นท ี่ เทียบได ไมต่ำกวาน ี้ ตามหลักเกณฑและเง ื่อนไขที่ ก.พ. กำหนด โดยจะตองปฏิบัติงานเวชสถิติ หรืองานอ ื่ นท ี่ เก ี่ ยวของตามที่สวนราชการเจาสังกัดเห็นวาเหมาะสมกับหนาท ี่ ความรับผิดชอบและลักษณะงานท ี่ปฏิบัติ มาแลวไมนอยกวา 1 ป
ระดับตำแหนง อาวุโส[แก้]
หนาที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะหัวหนางาน ซึ่งไมจำเปนตองใชผูสำเร็จการศึกษาระดับปริญญา โดยตอง กำกับ แนะนำ ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผูรวมปฏิบัติงาน โดยใชความรูความสามารถ ประสบการณ และความชำนาญงานดานเวชสถิติคอนขางสูง มีงานในความรับผิดชอบท ี่ หลากหลาย ปฏิบัติงานที่ตอง ตัดสินใจหรือแกปญหาในงานที่คอนขางยากมากและปฏิบัติงานอื่นตามที่ไดรับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานท ี่ปฏิบัติในดานตาง ๆ ดังน ี้
1. ดานการกำกับดูแล
(1) ควบคุม กำกับ ดูแลการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชา เพ ื่อใหการปฏิบัติงาน บรรลุเปาหมายและวัตถุประสงคของหนวยงาน
(2) ควบคุม กำกับ ดูแลโครงการขนาดเล็กที่มีขั้นตอนการดำเนินงานไมซับซอน เพ ื่อให การบริหารจัดการบรรลุวัตถุประสงคของหนวยงาน
2. ดานปฏิบัติการ
(1) พัฒนามาตรฐานรหัสดานสุขภาพ จัดทำคูมือการปฏิบัติงาน ตัดสินใจแกไขปญหา เพ ื่ อพัฒนาการทำงานใหมีประสิทธิภาพตามมาตรฐาน
(2) แปลผลการวินิจฉัยโรค ศึกษา คนควา วิเคราะห จัดทำรายงานขอมูลสุขภาพ เพ ื่ อนำไปใชในการวางแผนปรับปรุงระบบงานใหมีประสิทธิภาพ
นักวิชาการสถิติ[แก้]
ตำแหน่งประเภท วิชาการ
สายงาน วิชาการสถิติ
ลักษณะงานโดยทั่วไป สายงานนี้ครอบคลุมตำแหน่งต่างๆ ที่ปฏิบัติงานด้ายวิชาการสถิติ ซึ่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับวิชาการทางด้านสถิติ เช่น การกำหนดมาตรฐานสถิติ กำหนดระเบียนรวิธีปฏิบัติและควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ และเทคนิคการปฏิบัติการทางสถิติ การวางแผนจัดทำสถิติ รวมทั้งการดนินการส่งเสริมวิชาการสถิติ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
นักวิชาการเวชสถิติ[แก้]
ตำแหน่งประเภท เชี่ยวชาญเฉพาะ
สายงาน วิชาการเวชสถิติ[5]
ลักษณะงานโดยทั่วไป สายงานนี้ครอบคลุมถึงตำแหน่งต่างๆ ที่ปฏิบัติงานงิชาการเวชสถิติ ซึ่งมีลักษณะงานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับสถิติผู้ป่วย การรักษาพยาบาล การวิเคราะห์โรค การแปลข้อมูลและลงรหัส การจัดทำและวิเคราะห์ข้อมูลเวชสถิติ เพื่อประโยชน์ในการปรับปรุงและขยายกิจการของโรงพยาบาลและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาพยาบาล เพื่อประโยชน์แก่การศึกษา ค้นคว้าวิจัย และวางมาตรการในการป้องกันโรคของโรงพยาบาลในสังกัดสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ตลอดจนการวางแผนเกี่ยวกับสาธารณสุขของประเทศด้านอื่นๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง
ชื่อระดับตำแหน่ง
1.รับดับปฏิบัติการ
2.ระดับชำนาญการ
3.ระดับชำนาญการพิเศษ
4.ระดับเชี่ยวชาญ
5. ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ
อ้างอิง[แก้]
- ↑ แสงเทียน อยู่เถา, เวชสถิติ, มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม, ๒๕๕๑.
- ↑ 2.0 2.1 แสงเทียน อยู่เถา. (๒๕๖๐). เวชสถิติ (Medical Statistics). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพืแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ↑ แสงเทียน อยู่เถา. (๒๕๕๖). เวชระเบียน (Medical Record). กรุงเทพฯ: มิสเตอร์ก๊อปปี้ (ประเทศไทย) จำกัด.
- ↑ แสงเทียน อยู่เถา. (๒๕๖๐). การบริหารงานเวชระเบียน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ↑ ก.พ.อ. (๒๕๕๓). มาตรฐานกำหนดตำแหน่งนักวิชาการเวชสถิติ. ประกาศ ก.พ.อ. วันที่ ๒๑ กันยายน ๒๕๕๓.