ข้ามไปเนื้อหา

เรือหลวงบีเกิล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เรือหลวงบีเกิลในช่องแคบมาเจลลันที่Monte Sarmiento
ประวัติ
สหราชอาณาจักร
Ordered16 กุมภาพันธ์ 1817
มูลค่าสร้าง₤7,803
ปล่อยเรือมิถุนายน ค.ศ.1818
เดินเรือแรก11 พฤษภาคม ค.ศ.1820
เข้าประจำการ1820
ปลดระวาง1845 เปลี่ยนตำแหน่งเป็น หน่วยยามชายฝั่ง
ความเป็นไปถูกขายและแยกชิ้นส่วนในปีค.ศ.1870
ลักษณะเฉพาะ
ชั้น: Cherokee-class brig-sloop
เบอเตนตัน: 235 bm; 242 for second voyage[1]
ความยาว: 90.3 ft (27.5 m)
ความกว้าง: 24.5 ft (7.5 m)
กินน้ำลึก: 12.5 ft (3.8 m)
แผนแล่นเรือ: Brig (barque from 1825)
อัตราเต็มที่: 120 as a ship-of-war, 65 plus 9 supernumeraries on second voyage
ยุทโธปกรณ์: ปืนใหญ่ 10 กระบอก ลดลงเหลือ 6 กระบอกสำหรับการเดินทางครั้งแรก เปลี่ยนเป็น 7 กระบอกในการเดินทางครั้งที่สอง
ภาพผ่าตามยาวเรือหลวงบีเกิล ค.ศ. 1832

เรือหลวงบีเกิล (อังกฤษ: HMS Beagle) เป็นเรือสลุปใบสองเสา (brig-sloop) ชั้นเชโรกีของราชนาวีอังกฤษ ติดตั้งปืนใหญ่ 10 กระบอก ปล่อยลงน้ำเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม ค.ศ. 1820 จากอู่ต่อเรือวูลวิชริมฝั่งแม่น้ำเทมส์ ด้วยมูลค่า 7,803 ปอนด์ ในเดือนกรกฎาคมปีนั้น เรือดังกล่าวเข้าร่วมในงานสวนสนามทางเรือเพื่อเฉลิมฉลองพระราชพิธีราชาภิเษกของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร ซึ่งบีเกิลเป็นเรือลำแรกที่ได้ล่องใต้สะพานลอนดอนแห่งใหม่ ภายหลัง บีเกิลถูกดัดแปลงเป็นเรือสำเภาสำรวจ (survey barque) และเข้าร่วมในการสำรวจสามครั้ง ในการเดินทางเที่ยวที่สอง นักธรรมชาติวิทยาหนุ่ม ชาลส์ ดาร์วิน อยู่บนเรือด้วย และผลงานของเขาจะทำให้บีเกิลเป็นหนึ่งในเรือที่มีชื่อเสียงที่สุดในโลก

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Fitz17–18