เยื่อบุช่องท้องอักเสบติดต่อในแมว

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Feline infectious peritonitis
ภาพจากกล้องจุลทรรศน์แสดงเนื้อเยื่อไตของแมวที่ป่วยเป็น FIP ซึ่งมีการอักเสบ
สาขาวิชาโรคติดเชื้อ (การแพทย์เฉพาะทาง)
อาการระยะแรก: อาการคล้ายไข้หวัด

ระยะต่อมา: เดินเซ, กล้ามเนื้ออ่อนแรง, กินอาหารลำบาก

ระยะท้าย: หายใจลำบาก, ปัสสาวะราด, อัมพาต
การตั้งต้นอาจแสดงอาการได้นานถึง 1 ปี หลังรับเชื้อ
ระยะดำเนินโรคมักเสียชีวิตภายใน 1 เดือนหลังวินิจฉัย
สาเหตุติดเชื้อไวรัสโคโรนาในแมวชนิดกลายพันธุ์
การป้องกันเลี้ยงแมวในบ้าน
การรักษาอังกฤษ (ตั้งแต่สิงหาคม 2021) และออสเตรเลีย: GS-441524 (กินเป็นยาเม็ด) และยาแม่ Remdesivir (ฉีดเข้าหลอดเลือดดำหรือฉีดเข้าใต้ผิวหนัง)
พยากรณ์โรคเสียชีวิตหากไม่ได้รับการรักษา หากใช้ยาต้านไวรัสอาจรอดชีวิตได้ 80%
ความชุกพบได้บ่อยมาก

เยื่อบุช่องท้องอักเสบติดต่อในแมว (อังกฤษ: feline infectious peritonitis) เป็นโรคในแมวชนิดหนึ่ง จัดเป็นโรคติดเชื้อไวรัส เกิดจากไวรัสโคโรนาในแมวสายพันธุ์เยื่อบุช่องท้องอักเสบ (feline infectious peritonitis virus)

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แม่แบบ:Domestic cat