ข้ามไปเนื้อหา

เซาท์ไชนามอร์นิงโพสต์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เซาต์ไชนามอร์นิงโพสต์)
เซาท์ไชนามอร์นิงโพสต์
ประเภทหนังสือพิมพ์รายวัน
รูปแบบบรอดชีต
เจ้าของกลุ่มอาลีบาบา
ผู้ก่อตั้ง
  • Tse Tsan-tai
  • อัลเฟรด คันนิงแฮม
ผู้เผยแพร่SCMP Publishers
ประธานCatherine So, CEO
หัวหน้าบรรณาธิการTammy Tam
บรรณาธิการChow Chung-yan
รองบรรณาธิการZuraidah Ibrahim
บรรณาธิการบริหาร[ว่าง]
บรรณาธิการข่าวYonden Lhatoo
บรรณาธิการเจตคติRobert Haddow
บรรณาธิการกีฬาJoshua Ball (รักษาการ)
บรรณาธิการถ่ายภาพRobert Ng
Digital editorClark Ainsworth
ก่อตั้งเมื่อ6 พฤศจิกายน 1903; 120 ปีก่อน (1903-11-06)
(44190 ฉบับ)
สำนักงานใหญ่Global: Morning Post Centre
22 Dai Fat Street
Tai Po Industrial Estate
Tai Po, New Territories
ฮ่องกง Kong
ต่างประเทศ: 56 Mott Street
นิวยอร์ก รัฐนิวยอร์ก 10013
สหรัฐ
ยอดจำหน่าย
  • 105,347 (รายวัน, 2016)
  • 82,117 (วันอาทิตย์, 2016)
  • 17,000 (ดิจิทัล, 2019)[1]
เลขมาตรฐานสากล (ISSN)1021-6731 (พิมพ์)
1563-9371 (เว็บ)
OCLC number648902513
เว็บไซต์www.scmp.com
เซาท์ไชนามอร์นิงโพสต์
อักษรจีนตัวเต็ม
อักษรจีนตัวย่อ

เซาท์ไชนามอร์นิงโพสต์ (อังกฤษ: South China Morning Post, SCMP) กับ ซันเดย์มอร์นิงโพสต์ (Sunday Morning Post) ของฉบับวันอาทิตย์ เป็นหนังสือพิมพ์ภาษาอังกฤษฐานฮ่องกงที่ถือครองโดยกลุ่มอาลีบาบา[2][3] ก่อตั้งใน ค.ศ. 1903 โดย Tse Tsan-tai กับอัลเฟรด คันนิงแฮม หนังสือพิมพ์นี้ยังคงเป็น newspaper of record ของฮ่องกงนับตั้งแต่สมัยอาณานิคมบริติช[4][5]: 251 

การหมุนเวียนของหนังสือพิมพ์ยังอยู่ในสภาพคงที่เป็นเวลาหลายปี โดยยอดขายเฉลี่ยต่อวันอยู่ที่ 100,000 ฉบับใน ค.ศ. 2016 งานสำรวจของมหาวิทยาลัยฮ่องกงของจีนใน ค.ศ. 2019 ระบุว่า SCMP ถือได้ว่าเป็นหนังสือพิมพ์จ่ายเงินที่น่าเชื่อถือที่สุดในฮ่องกง[6]

SCMP เคยถือครองโดยนิวส์คอร์ปอเรชันของรูเพิร์ต เมอร์ด็อกใน ค.ศ. 1986 จนกระทั่ง Robert Kuok ผู้ประกอบการอสังหาริมทรัพย์สัญชาติมาเลเซีย ซื้อกิจการนี้ใน ค.ศ. 1993[3] จากนั้น ในวันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 2016 กลุ่มอาลีบาบาซื้ิอทรัพย์สินสื่อของกลุ่ม SCMP ซึ่งรวมถึง SCMP ด้วย[2][7] ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2017 Gary Liu อดีตประธานเจ้าหน้าที่บริหารจากดิกก์ กลายเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ SCMP[8]

นับตั้งแต่เปลี่ยนเจ้าของใน ค.ศ. 2016 มีข้อกังวลเกี่ยวกับความเป็นอิสระของบรรณาธิการและการเซ็นเซอร์ตัวเองของสำนักพิมพ์ นักวิจารณ์อย่าง เดอะนิวยอร์กไทมส์, Der Spiegel และ ดิแอตแลนติก กล่าวหาว่าหนังสือพิมพ์นี้มีภารกิจสนับสนุนอำนาจอ่อนของจีนไปยังต่างประเทศ[9][10] ใน ค.ศ. 2022 บรรณาธิการของ SCMP และนักข่าวอีกสองคนลาออกหลังสื่อตีพิมพ์ถูกกล่าวหาว่าระงับการตีพิมพ์การสอบสวนการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอุยกูร์[11]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "South China Morning Post Advertising & Marketing Solutions, About SCMP". advertising.scmp.com (ภาษาอังกฤษ). 17 February 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 May 2019. สืบค้นเมื่อ 2019-05-29.
  2. 2.0 2.1 Lhatoo, Yonden (5 April 2016). "Paywall down as Alibaba takes ownership of SCMP". SCMP.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 April 2016. สืบค้นเมื่อ 5 April 2016.
  3. 3.0 3.1 "Alibaba Buys HK's SCMP to Counter 'Western Bias'". Asia Sentinel. 13 December 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 December 2015. สืบค้นเมื่อ 14 December 2015.
  4. Liu, Ming; Zhong, Jiali (2020). "Between national and local: Identity representations of post-colonial Hong Kong in a local English newspaper". Discourse, Context & Media. 36: 100401. doi:10.1016/j.dcm.2020.100401. S2CID 218970137.
  5. Pepper, Suzanne (2007). Keeping Democracy at Bay: Hong Kong and the Challenge of Chinese Political Reform. Rowman & Littlefield. ISBN 9781461638483.
  6. Centre for Communication and Public Opinion Survey (2019). "Tracking Research: Public Evaluation on Media Credibility - Survey Results" (PDF). Chinese University of Hong Kong. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 May 2020. สืบค้นเมื่อ 14 March 2020.
  7. Carew, Rick (11 December 2015). "Alibaba to Buy South China Morning Post". The Wall Street Journal. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 December 2015. สืบค้นเมื่อ 11 December 2015.
  8. Leow, Annabeth (7 September 2019). "Old-School Newsman". The Business Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2019. สืบค้นเมื่อ 16 September 2019.
  9. Nezik, Ann-Kathrin (23 August 2018). "Newspaper Could Help Rebrand China Abroad". Der Spiegel (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 August 2020. สืบค้นเมื่อ 24 March 2020.
  10. McLaughlin, Timothy (1 August 2020). "A newsroom at the edge of autocracy". The Atlantic. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2020. สืบค้นเมื่อ 28 May 2021.
  11. General, Ryan (October 27, 2022). "SCMP editor who quit over rejected story on Xinjiang human rights abuses is warned not to publish it". Yahoo! News (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2023-03-24.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]