องศานิวตัน
หน้าตา
องศานิวตัน (อังกฤษ: Newton Scale, สัญลักษณ์: °N) คือ หน่วยวัดอุณหภูมิที่คิดค้นขึ้นในปี ค.ศ.1701 โดยเซอร์ไอแซก นิวตัน นักฟิสิกส์ผู้คิดค้นแรงโน้มถ่วง และแคลคูลัส นิวตันเป็นคนแรกที่เรียกเครื่องมือวัดอุณหภูมิของตนเองว่า เทอร์โมมิเตอร์ โดยกำหนด 0°N เป็นจุดเยือกแข็งของน้ำ และ 33°N เป็นจุดเดือดของน้ำ ถือเป็นหน่วยการวัดอุณหภูมิที่สำคัญต่อประวัติศาสตร์ เนื่องจากเป็นหน่วยอุณหภูมิแรกที่มีการกำหนดตัวเลขอุณหภูมิอย่างชัดเจนร่วมกับองศาเรอเมอร์ (ตีพิมพ์ในเวลาไล่เรี่ยกัน) การที่อุณหภูมิเพิ่ม 1°N คือ 3.03°C หรือ K
จากองศานิวตัน | แปลงให้เป็นองศานิวตัน | |
---|---|---|
องศาเซลเซียส | [°C] = [°N] × 100⁄33 | [°N] = [°C] × 33⁄100 |
องศาฟาเรนไฮต์ | [°F] = [°N] × 60⁄11 + 32 | [°N] = ([°F] − 32) × 11⁄60 |
เคลวิน | [K] = [°N] × 100⁄33 + 273.15 | [°N] = ([K] − 273.15) × 33⁄100 |
องศาแรงคิน | [°R] = [°N] × 60⁄11 + 491.67 | [°N] = ([°R] − 491.67) × 11⁄60 |
องศาเดลิเซิล | [°De] = (33 − [°N]) × 50⁄11 | [°N] = 33 − [°De] × 11⁄50 |
องศาโรเมอร์ | [°Ré] = [°N] × 80⁄33 | [°N] = [°Ré] × 33⁄80 |
องศาเรอเมอร์ | [°Rø] = [°N] × 35⁄22 + 7.5 | [°N] = ([°Rø] − 7.5) × 22⁄35 |
การเปรียบเทียบอุณหภูมิ
[แก้]เคลวิน | องศาเซลเซียส | องศาฟาเรนไฮต์ | องศาแรงคิน | องศาเดลิเซิล | องศานิวตัน | องศาโรเมอร์ | องศาเรอเมอร์ | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ศูนย์สัมบูรณ์ | 0.00 | −273.15 | −459.67 | 0.00 | 559.73 | −90.14 | −218.52 | −135.90 |
อุณหภูมิที่ต่ำที่สุดที่เคยวัดได้บนพื้นผิวโลก[1] | 184 | −89.2[1] | −128.6[1] | 331 | 284 | −29 | −71 | −39 |
อุณภูมิของน้ำแข็ง น้ำ และ เกลือของฟาเรนไฮต์ | 255.37 | −17.78 | 0.00 | 459.67 | 176.67 | −5.87 | −14.22 | −1.83 |
จุดเยือกแข็งของน้ำ (ณ ระดับน้ำทะเล) | 273.15 | 0.00 | 32.00 | 491.67 | 150.00 | 0.00 | 0.00 | 7.50 |
อุณหภูมิเฉลี่ยของพื้นผิวโลก | 288 | 15 | 59 | 519 | 128 | 5 | 12 | 15 |
อุณหภูมิเฉลี่ยของร่างกายมนุษย์ | 310 | 37 | 98 | 558 | 95 | 12 | 29 | 27 |
อุณหภูมิที่สูงที่สุดที่เคยวัดได้บนพื้นผิวโลก[2] | 331 | 58[2] | 136.4[2] | 596 | 63 | 19 | 46 | 38 |
จุดเดือดของน้ำ (ณ ระดับน้ำทะเล) | 373.1339 | 99.9839 | 211.97102[3] | 671.64102[3] | 0.00 | 33.00 | 80.00 | 60.00 |
จุดหลอมเหลวของไททาเนียม (ณ ระดับน้ำทะเล) | 1941 | 1668 | 3034 | 3494 | −2352 | 550 | 1334 | 883 |
อุณหภูมิของพื้นผิวดวงอาทิตย์ | 5800 | 5500 | 9900 | 10400 | −8100 | 1800 | 4400 | 2900 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 The Coldest Inhabited Places on Earth; researchers of the Vostok Station recorded the coldest known temperature on Earth on July 21st 1983: −89.2 °C (−128.6 °F).
- ↑ 2.0 2.1 2.2 "World: Highest Temperature". Arizona State University, School of Geographical Sciences. November 12, 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 4, 2013.
an Italian weather station in al 'Aziziyah (Libya) measured a temperature of 58 °C (136.4 °F) on September 13th 1922. "Although this record has gained general acceptance as the world's highest temperature recorded under standard conditions, the validity of the extreme has been questioned."
- ↑ 3.0 3.1 "Comparison of temperature scales". Tampile. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-13. สืบค้นเมื่อ 2020-05-22.