สมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกายเป็นภาวะสุขภาพและความเป็นอยู่ดี และเจาะจงความสามารถดำเนินกีฬา ประกอบอาชีพและกิจวัตรประจำวันลักษณะต่าง ๆ ปกติสมรรถภาพทางกายได้มาจากโภชนาการที่เหมาะสม[1] การออกกำลังกายระดับปานกลางถึงหนัก[2] และการพักผ่อนอย่างเพียงพอ[3]
ก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรม นิยามสมรรถภาพว่าความสามารถดำเนินกิจวัตรประจำวันโดยไม่ล้าเกินไป ทว่า การอัตโนมัติและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต ปัจจุบันสมรรถภาพจึงถือว่าเป็นการวัดความสามารถของร่างกายในการทำหน้าที่ต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในงานและกิจกรรมหย่อนใจ มีสุขภาพดี ป้องกันโรคการเคลื่อนไหวน้อย และการเผชิญสถานการณ์ฉุกเฉิน[4]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ Tremblay, Mark Stephen; Colley, Rachel Christine; Saunders, Travis John; Healy, Genevieve Nissa; Owen, Neville (2010). "Physiological and health implications of a sedentary lifestyle". Applied Physiology, Nutrition, and Metabolism. 35 (6): 725–740. doi:10.1139/H10-079.
- ↑ de Groot, Gudrun Cathrine Lindgren; Fagerström, Lisbeth (June 14, 2010). "Older adults' motivating factors and barriers to exercise to prevent falls". Scandinavian Journal of Occupational Therapy. 18 (2): 153–160. doi:10.3109/11038128.2010.487113. PMID 20545467.
- ↑ Malina, R (2010). Physical activity and health of youth. Constanta: Ovidius University Annals, Series Physical Education and Sport/Science, Movement and Health.
- ↑ "President's Council on Physical Fitness and Sports Definitions for Health, Fitness, and Physical Activity". fitness.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 July 2012.
{{cite web}}
: ไม่รู้จักพารามิเตอร์|deadurl=
ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=
) (help)
![]() |
บทความนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล หมายเหตุ: ขอแนะนำให้จัดหมวดหมู่โครงให้เข้ากับเนื้อหาของบทความ (ดูเพิ่มที่ วิกิพีเดีย:โครงการจัดหมวดหมู่โครงที่ยังไม่สมบูรณ์) |