ระบบนำวิถี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ระบบนำวิถี คือ อุปกรณ์เสมือนหรืออุปกรณ์ทางกายภาพหรือกลุ่มของอุปกรณ์การใช้ขั้นตอนการนำวิถีที่ใช้สำหรับการควบคุมการเคลื่อนไหวของเรือ, อากาศยาน, ขีปนาวุธ, จรวด, ดาวเทียม, หรือวัตถุที่เคลื่อนที่อื่น ๆ การนำวิถีเป็นกระบวนการของการคำนวณการเปลี่ยนแปลงในตำแหน่ง, ความเร็ว, ท่าทางการทรงตัว (attitude), และ / หรืออัตราการหมุนของวัตถุที่เคลื่อนที่ต้องเป็นไปตามวิถีและ / หรือรายละเอียดลักษณะท่าทางการทรงตัวที่อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลที่เกี่ยวกับสถานะของการเคลื่อนไหวของวัตถุ [1][2][3]

ระบบนำวิถีมักเป็นส่วนหนึ่งของระบบการนำวิถี, การนำทางและการควบคุม (Guidance, navigation and control system), ในขณะที่การนำทางหมายถึงระบบที่จำเป็นในการคำนวณตำแหน่งปัจจุบันและการกำหนดเป้าหมายตามข้อมูลจากเซ็นเซอร์ เช่น เข็มทิศ, เครื่องรับจีพีเอส (GPS receivers), เครื่องโลแรน-ซี (Loran-C), เครื่องตามดาว (star tracker), เครื่องวัดความเฉื่อย (inertial measurement unit), เครื่องวัดความสูง (altimeter) ฯลฯ

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Grewal, Mohinder S.; Weill, Lawrence R.; Andrews, Angus P. (2007). Global Positioning Systems, Inertial Navigation, and Integration (2nd ed.). Hoboken, New Jersey, USA: Wiley-Interscience, John Wiley & Sons, Inc. p. 21. ISBN 978-0-470-04190-1.
  2. Farrell, Jay A. (2008). Aided Navigation: GPS with High Rate Sensors. USA: The McGraw-Hill Companies. pp. 5 et seq. ISBN 0-07-164266-8.
  3. Draper, C. S.; Wrigley, W.; Hoag, G.; Battin, R. H.; Miller, E.; Koso, A.; Hopkins, A. L.; Vander Velde, W. E. (June 1965). Apollo Guidance and Navigation (PDF) (Report). Massachusetts: Massachusetts Institute of Technology, Instrumentation Laboratory. pp. I-3 et seqq. สืบค้นเมื่อ October 12, 2014.

อ่านเพิ่มเติม[แก้]

  • An Introduction to the Mathematics and Methods of Astrodynamics, Revised Edition (AIAA Education Series) Richard Battin, May 1991
  • Space Guidance Evolution-A Personal Narrative, Richard Battin, AIAA 82-4075, April 1982