ม็อบฉับพลัน
ม็อบฉับพลัน หรือทับศัพท์ว่า แฟลชม็อบ (อังกฤษ: flash mob หรือ flashmob)[1] คือการรวมตัวของกลุ่มคนในสถานที่หนึ่งอย่างฉับพลัน เพื่อแสดงสิ่งแปลกตาและดูเหมือนไม่มีจุดมุ่งหมายในช่วงระยะเวลาอันสั้น จากนั้นจึงสลายตัว มักจะทำเพื่อจุดประสงค์การบันเทิง การล้อเลียน หรือการแสดงออกทางศิลปะ[2][3] แฟลชม็อบเกิดขึ้นโดยการนัดกันผ่านการสื่อสารโทรคมนาคม เครือข่ายสังคม หรือการส่งอีเมลต่อ ๆ กัน[4][5]
ศัพท์คำนี้เกิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2546 โดยทั่วไปไม่ได้ใช้กับเหตุการณ์หรือการแสดงที่จัดขึ้นเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง (เช่น การประท้วง) การโฆษณาเชิงพาณิชย์ การจัดฉากโฆษณาที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานประชาสัมพันธ์ หรือผู้เชี่ยวชาญที่ได้รับการว่าจ้าง[6][7] กรณีถ้ามีจุดประสงค์ที่ได้วางแผนไว้เพื่อกิจกรรมทางสังคมดังกล่าวจะเรียกว่า สมาร์ตม็อบ (smart mob) แทน
ในปี 2563 การจัดกิจกรรม แฟลชม็อบ เริ่มเข้ามามีบทบาทต่อสังคมไทย โดยใช้กิจกกรมดังกล่าวเพื่อแสดงออกความคิดเห็นทางการเมือง และมีการกระจายตัวตามสถานที่ราชการและสถานที่สำคัญ ต่าง ๆ ทั่วประเทศ[8]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Facebook flashmob shuts down station". CNN.com. February 9, 2009.
- ↑ "Va-va-voom is in the dictionary". BBC. July 8, 2004. สืบค้นเมื่อ May 5, 2010.
- ↑ "Mixed feelings over Philadelphia's flash-mob curfew". BBC. August 12, 2011.
- ↑ Carey, James. Communication as Culture: Essays on Media and Society (New York: Unwin Hyman, 1989).
- ↑ Sandra Shmueli (August 8, 2003). "'Flash mob' craze spreads". CNN.
- ↑ "Manifestul Aglomerarilor Spontane / A Flashmob Manifesto". December 5, 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-10-12. สืบค้นเมื่อ December 27, 2011.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ Ed Fletcher (December 23, 2010). "Failed choral 'flash mob' may not have qualified for term". Toronto Star. สืบค้นเมื่อ December 30, 2010.
- ↑ "แฟลชม็อบที่ธนาธรบอก คืออะไร มีที่มาที่ไปยังไง". posttoday.com.