มังกรน้ำ
หน้าตา
มังกรน้ำ | |
---|---|
ตะกอง หรือ ลั้ง (P. cocincinus) พบได้ในประเทศไทย จัดเป็นกิ้งก่าที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย[1] | |
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
อาณาจักร: | Animalia |
ไฟลัม: | Chordata |
ชั้น: | Reptilia |
อันดับ: | Squamata |
วงศ์: | Agamidae |
วงศ์ย่อย: | Agaminae |
สกุล: | Physignathus Cuvier, 1829 |
ชนิด | |
มังกรน้ำ (อังกฤษ: Water dragons) เป็นสกุลของสัตว์เลื้อยคลานจำพวกกิ้งก่าสกุลหนึ่ง ใช้ชื่อสกุลว่า Physignathus (เป็นภาษากรีกมีความหมายว่า "ขากรรไกรที่ยกขึ้น"[2]) ในวงศ์กิ้งก่า (Agamidae)
พบทั้งสิ้น 2 ชนิด เป็นกิ้งก่าขนาดใหญ่ที่มีพฤติกรรมชอบอาศัยในที่ชื้นใกล้แหล่งน้ำ สามารถว่ายน้ำและดำน้ำได้เก่ง พบกระจายพันธุ์เฉพาะในทวีปเอเชียและออสเตรเลีย นิยมเลี้ยงเป็นสัตว์เลี้ยง
การจำแนก
[แก้]- ตะกอง (P. cocincinus) พบกระจายพันธุ์ตั้งแต่ตอนใต้ของจีนและหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้รวมทั้งประเทศไทย[1]
- มังกรน้ำออสเตรเลีย (P. esueurii) พบกระจายพันธุ์ในหลายรัฐของภาคตะวันออกของออสเตรเลีย[3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 "ตะกองหรือกิ้งก่ายักษ์(Physignathus cocincinus)". มูลนิธิอนุรักษ์ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด. 2 April 2014. สืบค้นเมื่อ 2 April 2014.
- ↑ To, Allen (2005). "Another alien has landed: the discovery of a wild population of water dragon, Physignathus cocincinus, in Hong Kong" (PDF). Porcupine. 33 (November): 3–4.
- ↑ Maruyama, K., Langkilde, T. (1999). "Physignathus lesueurii" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2008-07-27. สืบค้นเมื่อ 2014-04-02.
{{cite web}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ Physignathus
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Physignathus ที่วิกิสปีชีส์