มะนิลาไลต์เรล
มะนิลาไลต์เรล | |||
---|---|---|---|
ข้อมูลทั่วไป | |||
เจ้าของ | Light Rail Transit Authority | ||
ที่ตั้ง | เมโทรมะนิลา | ||
ประเภท | Rapid transit | ||
จำนวนสาย | 2 | ||
จำนวนสถานี | 31 | ||
ผู้โดยสารต่อวัน | 2.1 ล้านคน (2012) | ||
การให้บริการ | |||
เริ่มดำเนินงาน | 1 ธันวาคม ค.ศ. 1984 | ||
ผู้ดำเนินงาน | Light Rail Transit Authority | ||
จำนวนขบวน | สายสีเหลือง: ACEC Hyundai Precision/Adtranz Kinki Sharyo/Nippon Sharyo สายสีม่วง: Hyundai Rotem | ||
ข้อมูลทางเทคนิค | |||
ระยะทาง | 31 กิโลเมตร (19 ไมล์) | ||
รางกว้าง | 1,435 mm (4 ft 8 1⁄2 in) สแตนดาร์ดเกจ | ||
การจ่ายไฟฟ้า | เหนือหัว | ||
ความเร็วสูงสุด | 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง | ||
|
มะนิลาไลต์เรล หรือรู้จักกันในชื่อ LRT เป็นระบบขนส่งมวลชนประเภทหนึ่งในเมโทรมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เป็นระบบรถไฟฟ้ารางเบา ดำเนินการโดย Light Rail Transit Authority (LRTA) ซึ่งดำเนินการพร้อมกันกับมะนิลาเมโทร (MRT-3 หรือสายสีน้ำเงิน) และการรถไฟแห่งชาติฟิลิปปินส์ (PNR) เป็นส่วนหนึ่งของระบบขนส่งมวลชนแห่งสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (SRTS)
รถไฟฟ้ารางเบาในกรุงมะนิลาเป็นระบบขนส่งมวลชนความเร็วสูงที่เก่าแก่ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1984 ตามด้วยการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในสิงคโปร์ที่ได้เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1987
สถิติผู้โดยสาร 2.1 ล้านคนต่อวัน มีจำนวน 31 สถานี ระยะทาง 31 กิโลเมตร (19 ไมล์) เป็นทางยกระดับ 2 ทางวิ่ง สำหรับสาย 1 หรือสายสีเหลือง เปิดให้บริการในปี ค.ศ. 1984 มีแนวเส้นทางเหนือ-ใต้ ส่วนสาย 2 หรือสายสีม่วง เปิดให้บริการใน ค.ศ. 2004 แนวเส้นทางตะวันออก-ตะวันตก
โครงข่าย
[แก้]ระบบรถไฟฟ้า
[แก้]สาย 1
[แก้]- ที่มา: LRTA
สาย 2
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความปลอดภัย
[แก้]การเตือนภัย | เครื่องหมาย |
---|---|
สีน้ำเงิน | Increased interval time between train arrivals |
สีเหลือง | Slight delay in the departure and arrival of trains from stations |
สีแดง | Temporary suspension of all LRT services due to technical problems |
ค่าโดยสาร
[แก้]
|
|
ประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โครงการในอนาคต
[แก้]ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]บรรณานุกรม
[แก้]- Allport, R. J. (1986). Appropriate mass transit for developing cities. Transport Reviews: A Transnational Transdisciplinary Journal, 6(4), 365–384. doi:10.1080/01441648608716636
- Asia Pacific Energy Research Centre (APERC). Institute of Energy Economics, Japan. (2008). Urban Transport Energy Use in the APEC Region – Benefits and Costs (PDF). Tokyo: Author. ISBN 978-4-931482-39-5. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-07-22. สืบค้นเมื่อ 2013-08-24.
- Dans, Jose P. Jr. (1990). "The Metro Manila LRT system: its future". ใน Institution of Civil Engineers (บ.ก.). Rail Mass Transit Systems for Developing Countries. London: Thomas Telford. ISBN 0-7277-1560-7.
- Midgley, Peter. (1994-03-31). Urban Transport in Asia : An Operational Agenda for the 1990s (World Bank technical paper no. 224). Washington D.C.: World Bank. ISBN 0-8213-2624-4.
- Thomson, J.M., R.J. Allport and P.R. Fouracre. (1990). "Rail mass transit in developing cities – the Transport and Road Research Laboratory study". ใน Institution of Civil Engineers (บ.ก.). Rail Mass Transit Systems for Developing Countries. London: Thomas Telford. ISBN 0-7277-1560-7.
{{cite book}}
: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์) - United States Agency for International Development. (June 2005). Integrated Environmental Strategies – Philippines Project Report – Metropolitan Manila. Author. (With United States Environmental Protection Agency, NREL, and the Manila Observatory).
- Uranza, Rogelio. (2002). The Role of Traffic Engineering and Management in Metro Manila เก็บถาวร 2009-12-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Workshop paper presented in the Regional Workshop: Transport Planning, Demand Management and Air Quality, February 2002, Manila, Philippines. Asian Development Bank (ADB).
- World Bank. (2001-05-23). "Project Appraisal Document for the Metro Manila Urban Transport Integration Project" (PDF). Author.
{{cite journal}}
: Cite journal ต้องการ|journal=
(help)