ม็อสตาร์

พิกัด: 43°20′N 17°48′E / 43.333°N 17.800°E / 43.333; 17.800
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก มอสตาร์)
ม็อสตาร์
นครม็อสตาร์
บนลงล่างและซ้ายไปขวา: ภาพมุมดว้างของนครย่านเมืองเก่าและแม่น้ำเนเรตวา, มัสยิด Koski Mehmed Pasha, หอนาฬิกาม็อสตาร์, พิพิธภัณฑ์สตารีมอสต์, บัชชาร์ Kujundžiluk ในย่านเมืองเก่า Mala Tepa และสตารีมอสต์
บนลงล่างและซ้ายไปขวา: ภาพมุมดว้างของนครย่านเมืองเก่าและแม่น้ำเนเรตวา, มัสยิด Koski Mehmed Pasha, หอนาฬิกาม็อสตาร์, พิพิธภัณฑ์สตารีมอสต์, บัชชาร์ Kujundžiluk ในย่านเมืองเก่า Mala Tepa และสตารีมอสต์
ธงของม็อสตาร์
ธง
ตราราชการของม็อสตาร์
ตราอาร์ม
พิกัด: 43°20′N 17°48′E / 43.333°N 17.800°E / 43.333; 17.800
ประเทศธงของประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
ภาคสหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
แคนตันแม่แบบ:Country data Herzegovina-Neretva
ภูมิภาคเฮอร์เซโกวีนา
ก่อตั้ง1452
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีMario Kordić (HDZ BiH)
พื้นที่
 • ทั้งหมด1,165.63 ตร.กม. (450.05 ตร.ไมล์)
ความสูง60 เมตร (200 ฟุต)
ประชากร
 • ทั้งหมด113,169 คน
 • ความหนาแน่น97 คน/ตร.กม. (250 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
 • ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)UTC+2 (CEST)
รหัสพื้นที่+387 (0) 36
เว็บไซต์www.mostar.ba

ม็อสตาร์ (บอสเนีย: Mostar, ออกเสียง: [mǒstaːr] ( ฟังเสียง)) เป็นนครและศูนย์กลางบริหารของรัฐเฮอร์เซโกวีนา-เนเรตวาของสหพันธรัฐบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ในประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา[1]

ม็อสตาร์ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเนเรตวา และมีประชากรมากสุดเป็นอันดับห้าของประเทศ[2] ม็อสตาร์ เป็นชื่อที่ตั้งตามคำเรียกคนดูแลสะพาน (mostari) ซึ่งในยุคกลางเป็นผู้ดูแลสตารีมอสต์ (สะพานเก่า) ข้ามแม่น้ำเนเรตวา[3] สร้างขึ้นโดยชาวเติร์กออตโตมันในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถือเป็นสถาปัตยกรรมอิสลามชิ้นสำคัญหนึ่งในภูมิภาคบอลข่าน[4][5][6][7]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Mostar". ALDA. 2021-05-12. สืบค้นเมื่อ 2021-06-17.
  2. Altınel, Esra Gizem (2021-05-07). "Bosnia-Herzegovina: The green paradise of the Balkans". Daily Sabah. สืบค้นเมื่อ 2021-06-17.
  3. Centre, UNESCO World Heritage (2017-10-11). "Old Bridge Area of the Old City of Mostar". UNESCO World Heritage Centre (ภาษาละติน). สืบค้นเมื่อ 2021-06-17.
  4. Balić, Smail (1973). Kultura Bošnjaka: Muslimanska Komponenta. Vienna: (Ungargasse 9/20: Balić). pp. 32–34. สืบค้นเมื่อ June 7, 2013.
  5. Ćišić, Husein. Razvitak i postanak grada Mostara. Štamparija Mostar. p. 22. OCLC 470710758.
  6. Stratton, Arthur (1972). Sinan. New York: Charles Scribner's Sons. ISBN 978-0-684-12582-4.
  7. Stover, Eric; Harvey M. Weinstein (2004). My Neighbor, My Enemy: Justice and Community in the Aftermath of Mass Atrocity. Cambridge, UK: Cambridge University Press. p. 151. The bridge, built in 1566, was considered a masterpiece of Islamic architecture and a unique symbol of an undivided city.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]