ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี 2018

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี 2018
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพฟินแลนด์
วันที่16–29 กรกฎาคม พ.ศ. 2561
ทีม(จาก 1 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ โปรตุเกส (สมัยที่ 4)
รองชนะเลิศ อิตาลี
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน16
จำนวนประตู58 (3.63 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดโปรตุเกส Jota
โปรตุเกส Francisco Trincão
(คนละ 5 ประตู)[1]
2017
2019

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี 2018 (หรือที่รู้จักในชื่อ ยูฟ่า อันเดอร์-19 ยูโร 2018) เป็นการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี ครั้งที่ 17 (ครั้งที่ 67 ถ้า รุ่นอายุไม่เกิน 18 ปี และ รุ่นเยาวชนรวมอยู่ด้วย), ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับเยาวชนของทีมชาติซึ่งจัดขึ้นโดย ยูฟ่า สำหรับฟุตบอลชายทีมชาติรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปีของทวีปยุโรป. ฟินแลนด์, ซึ่งได้รับการคัดเลือกโดยยูฟ่าเมื่อวันที่ 26 มกราคม ค.ศ. 2015, จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน.[2]

รอบคัดเลือก[แก้]

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ประเทศ วิธีการเข้ารอบ จำนวนครั้งที่เข้ารอบ เข้ารอบครั้งล่าสุด ผลงานดีที่สุด
 ฟินแลนด์ เจ้าภาพ ครั้งที่ 1 ครั้งแรก
 นอร์เวย์ รอบสูงสุด กลุ่ม 1 ชนะเลิศ ครั้งที่ 4 2005 (รอบแบ่งกลุ่ม) รอบแบ่งกลุ่ม (2002, 2003, 2005)
 อังกฤษ รอบสูงสุด กลุ่ม 2 ชนะเลิศ ครั้งที่ 10 2017 (แชมเปียนส์) แชมเปียนส์ (2017)
 อิตาลี รอบสูงสุด กลุ่ม 3 ชนะเลิศ ครั้งที่ 6 2016 (รองชนะเลิศ) แชมเปียนส์ (2003)
 ยูเครน รอบสูงสุด กลุ่ม 4 ชนะเลิศ ครั้งที่ 5 2015 (รอบแบ่งกลุ่ม) แชมเปียนส์ (2009)
 โปรตุเกส รอบสูงสุด กลุ่ม 5 ชนะเลิศ ครั้งที่ 10 2017 (รองชนะเลิศ) รองชนะเลิศ (2003, 2014, 2017)
 ฝรั่งเศส รอบสูงสุด กลุ่ม 6 ชนะเลิศ ครั้งที่ 10 2016 (แชมเปียนส์) แชมเปียนส์ (2005, 2010, 2016)
 ตุรกี รอบสูงสุด กลุ่ม 7 ชนะเลิศ ครั้งที่ 6 2013 (รอบแบ่งกลุ่ม) รองชนะเลิศ (2004)

สนามแข่งขัน[แก้]

ทัวร์นาเมนต์นี้จะจัดขึ้นในเมือง Vaasa และ Seinäjoki.[3]

Seinäjoki Vaasa
OmaSP Stadion Hietalahti Stadium
ความจุ: 5,672 ความจุ: 5,572

ผู้เล่น[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

โปรแกรมการแข่งขันทัวร์นาเมนต์รอบสุดท้ายได้รับการยืนยันเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2561.[4]

เวลาทั้งหมดเป็นเวลาท้องถิ่น, EEST (UTC+3).

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อิตาลี 3 2 1 0 5 3 +2 7 รอบแพ้คัดออก และ
ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2019
2  โปรตุเกส 3 2 0 1 8 4 +4 6
3  นอร์เวย์ 3 1 1 1 5 6 −1 4 ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี รอบเพลย์ออฟ
4  ฟินแลนด์ (H) 3 0 0 3 2 7 −5 0
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
นอร์เวย์ 1–3 โปรตุเกส
Markovic Goal 82' รายงาน Trincão Goal 24'90+3'
Luís Goal 41'
ผู้ตัดสิน: Manuel Schüttengruber (ออสเตรีย)
ฟินแลนด์ 0–1 อิตาลี
รายงาน Zaniolo Goal 43'
ผู้ตัดสิน: Juan Martinez Munuera (สเปน)

ฟินแลนด์ 2–3 นอร์เวย์
Vertainen Goal 29' (ลูกโทษ)
Ylätupa Goal 53'
รายงาน Hauge Goal 11'
Botheim Goal 90'
C. Borchgrevink Goal 90+2'
โปรตุเกส 2–3 อิตาลี
Luís Goal 69'
Quina Goal 89'
รายงาน Capone Goal 53'
Scamacca Goal 78'
Frattesi Goal 84'
ผู้ตัดสิน: Bartosz Frankowski (โปแลนด์)

โปรตุเกส 3–0 ฟินแลนด์
Filipe Goal 20'
Gomes Goal 33'
Djú Goal 90+4'
รายงาน
อิตาลี 1–1 นอร์เวย์
Kean Goal 83' รายงาน Håland Goal 62' (ลูกโทษ)
ผู้ตัดสิน: Andrew Dallas (สกอตแลนด์)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ยูเครน 3 2 1 0 4 2 +2 7 รอบแพ้คัดออก และ
ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2019
2  ฝรั่งเศส 3 2 0 1 11 2 +9 6
3  อังกฤษ 3 1 1 1 4 8 −4 4 ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี รอบเพลย์ออฟ
4  ตุรกี 3 0 0 3 2 9 −7 0
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ตุรกี 2–3 อังกฤษ
Yalçın Goal 2'
Güçlü Goal 57'
รายงาน Tanganga Goal 22'
Brereton Goal 45+2'
Embleton Goal 54'
ฝรั่งเศส 1–2 ยูเครน
Guitane Goal 23' รายงาน Tsitaishvili Goal 13'
Buletsa Goal 86'
ผู้ตัดสิน: Andrew Dallas (สกอตแลนด์)

ยูเครน 1–1 อังกฤษ
Supriaha Goal 39' รายงาน Tavernier Goal 8'
ผู้ตัดสิน: Manuel Schüttengruber (ออสเตรีย)
ตุรกี 0–5 ฝรั่งเศส
รายงาน Guitane Goal 2'
Gouiri Goal 22'33'
Diaby Goal 58'
Cuisance Goal 90+2' (ลูกโทษ)
ผู้ตัดสิน: Juan Martinez Munuera (สเปน)

ยูเครน 1–0 ตุรกี
Buletsa Goal 8' รายงาน
อังกฤษ 0–5 ฝรั่งเศส
รายงาน Alioui Goal 28'56'
Maolida Goal 41'
Gouiri Goal 63'69'
ผู้ตัดสิน: Bartosz Frankowski (โปแลนด์)

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
26 กรกฎาคม – Vaasa
 
 
 อิตาลี
 
29 กรกฎาคม – Seinäjoki
 
 ฝรั่งเศส
 
ผู้ชนะ รอบรองชนะเลิศ 1
 
26 กรกฎาคม – Vaasa
 
 โปรตุเกส
 
 ยูเครน0
 
 
 โปรตุเกส5
 
World Cup play-off
 
 
26 กรกฎาคม – Seinäjoki
 
 
 นอร์เวย์3
 
 
 อังกฤษ0

รอบเพลย์ออฟฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี[แก้]

ผู้ชนะจะได้สิทธิ์เข้าแข่งขันสำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2019.

นอร์เวย์ 3–0 อังกฤษ
Botheim Goal 75'
Markovic Goal 86'
Hauge Goal 89'
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Bartosz Frankowski (โปแลนด์)

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ยูเครน 0–5 โปรตุเกส
รายงาน Correia Goal 2'
Felipe Goal 19'21'
Trincão Goal 28'30'
ผู้ตัดสิน: Manuel Schüttengruber (ออสเตรีย)

อิตาลี 2–0 ฝรั่งเศส
Capone Goal 27'
Kean Goal 30'
รายงาน
ผู้ตัดสิน: Jonathan Lardot (เบลเยียม)

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

อิตาลี 3–4 (ต่อเวลาพิเศษ) โปรตุเกส
Kean Goal 75'76'
Scamacca Goal 107'
รายงาน Jota Goal 45+1'104'
Trincão Goal 72'
Correia Goal 109'
ผู้ตัดสิน: Juan Martinez Munuera (สเปน)

ทีมที่ผ่านเข้ารอบสำหรับฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี[แก้]

หกทีมด้านล่างนี้ที่มาจากยูฟ่าได้สิทธิ์สำหรับ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2019, รวมไปถึงโปแลนด์ที่มีคุณสมบัติเป็นเจ้าภาพ.

ทีม วันที่ผ่านเข้ารอบ ครั้งที่ผ่านมา การลงสนาม ใน ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี1
 โปแลนด์ 16 มีนาคม 2561[5] 4 (1979, 1981, 1983, 2007)
 อิตาลี 22 กรกฎาคม 2561[6] 6 (1977, 1981, 1987, 2005, 2009, 2017)
 โปรตุเกส 22 กรกฎาคม 2561[6] 11 (1979, 1989, 1991, 1993, 1995, 1999, 2007, 2011, 2013, 2015, 2017)
 ยูเครน 23 กรกฎาคม 2561[7] 3 (2001, 2005, 2015)
 ฝรั่งเศส 23 กรกฎาคม 2561[7] 6 (1977, 1997, 2001, 2011, 2013, 2017)
 นอร์เวย์ 26 กรกฎาคม 2561[8] 2 (1989, 1993)
1 ตัวหนา หมายถึงทีมแชมป์สำหรับปีนั้น. ตัวเอียง หมายถึงทีมที่เป็นเจ้าภาพสำหรับปีนั้น.

อันดับดาวซัลโว[แก้]

การแข่งขันทั้งหมดมี 58 ประตูที่ทำได้ใน 16 นัด, สำหรับค่าเฉลี่ย 3.63 ประตูต่อนัด.

5 ประตู
4 ประตู
2 ประตู
1 ประตู

แหล่งที่มา: UEFA.com[9]

อ้างอิง[แก้]

  1. Woloszyn, Paul (29 July 2018). "Portugal pair share U19 EURO top scorers' prize". UEFA.com. สืบค้นเมื่อ 30 July 2018.
  2. "Georgia and Finland to stage U19 EURO". UEFA.com. 26 มกราคม พ.ศ. 2558. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  3. "THE TOURNAMENT WILL BE PLAYED IN TWO VENUES, IN VAASA AND SEINÄJOKI". www.uefa.com.
  4. "#U19EURO finals schedule confirmed". UEFA.com. 5 มิถุนายน พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  5. "FIFA Council decides on key steps for the future of international competitions". FIFA.com. 16 March 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-03-31. สืบค้นเมื่อ 2020-03-15.
  6. 6.0 6.1 "Italy, Portugal heading to U-20 World Cup". FIFA.com. 22 July 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-21. สืบค้นเมื่อ 2020-03-15.
  7. 7.0 7.1 "Ukraine and France qualify for Poland 2019". FIFA.com. 23 July 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-21. สืบค้นเมื่อ 2020-03-15.
  8. "Norway book Europe's last spot, holders England eliminated". FIFA.com. 26 July 2018. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-04-21. สืบค้นเมื่อ 2020-03-15.
  9. "Statistics — Tournament phase — Player statistics — Goals". UEFA.com. สืบค้นเมื่อ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2561. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]