ฟองยักษ์
ฟองยักษ์ (อังกฤษ: Superbubble) เป็นคำศัพท์ทางดาราศาสตร์ที่บ่งบอกถึงโพรงขนาดร้อยๆ ปีแสงที่เต็มไปด้วยก๊าซอุณหภูมิถึง 106 เคลวิน ที่ถูกพัดพาเข้ามาในมวลสารระหว่างดาวโดยซุเปอร์โนวาหลายแห่งและลมดาวฤกษ์ ระบบสุริยะตั้งอยู่ ณ ใกล้ใจกลางของฟองยักษ์แห่งหนึ่งที่รู้จักกันในชื่อของฟองท้องถิ่น ซึ่งถูกตรวจพบอาณาเขตโดยการสูญหายของฝุ่นคอสมิกอย่างเฉียบพลันของดาวฤกษ์ที่อยู่ห่างออกไปกว่า 100 ปีแสง
การก่อกำเนิด[แก้]
![]() | ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ตัวอย่างฟองยักษ์[แก้]
- โครงสร้างยักษ์อใจกลางดาราจักร โครงสร้างยักษ์มี่เคยถูกเรียกว่า สนิกเคอร์ส (อังกฤษ: Snickers) จากชื่อของช็อกโกแลตสนิกเคอร์ส
- ฮีไนซ์ 70 [1]
- ฟองท้องถิ่น ซึ่งเป็นที่ตั้งของระบบสุริยะ
- วงแหวนโมโนเจ็ม ซากซุเปอร์โนวาแห่งหนึ่ง[2]
- เอ็น 44 [3]
- ฟองยักษ์กลุ่มดาวคนแบกงู[4] [5]
- โครงสร้างยักษ์กลุ่มดาวโล่[6] [7]
- ฟองยักษ์กลุ่มดาวนายพราน-แม่น้ำ
อ้างอิง[แก้]
- ↑ 1.0 1.1 Henize 70: A SuperBubble In The LMC, Astronomy Picture of the Day, 1999-11-30
- ↑ Monogem Ring, The Internet Encyclopedia of Science
- ↑ N44 Superbubble, Astronomy Picture of the Day
- ↑ Yurii Pidopryhora, Felix J. Lockman, and Joseph C. Shields. The Ophiuchus Superbubble: A Gigantic Eruption from the Inner Disk of the Milky Way, The Astrophysical Journal 656:2, 928-942 (2007)
- ↑ "Huge 'Superbubble' of Gas Blowing Out of Milky Way". PhysOrg.com. 2006-01-13. สืบค้นเมื่อ 2008-07-04.
{{cite news}}
: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า :|1=
(help) - ↑ STIS and GHRS Observations of Warm and Hot Gas Overlying the Scutum Supershell (GS 018−04+44 เก็บถาวร 2019-12-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, The Astrophysical Journal
- ↑ Observational Evidence of Supershell Blowout in GS 018-04+44: The Scutum Supershell, The Astrophysical Journal, Volume 532, Issue 2, pp. 943-969.
แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]
- Tenorio-Tagle, G., & Bodenheimer, P. "Large-scale expanding superstructures in galaxies". 1988, Annual Review of Astronomy and Astrophysics 26, 145-197. General overview.
![]() |
บทความเกี่ยวกับดาราศาสตร์หรือจักรวาลวิทยานี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ดาราศาสตร์ |