ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไวต์ฮอร์ส"

พิกัด: 60°43′27″N 135°03′22″W / 60.72417°N 135.05611°W / 60.72417; -135.05611
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 99: บรรทัด 99:
}}
}}


{{เมืองหลวงในแคนาดา}}
[[หมวดหมู่:เมืองในประเทศแคนาดา]]
[[หมวดหมู่:เมืองในประเทศแคนาดา]]
[[หมวดหมู่:ยูคอน]]
[[หมวดหมู่:ยูคอน]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:37, 26 เมษายน 2564

ไวต์ฮอร์ส
นครไวต์ฮอร์ส
ไวต์ฮอร์สใน ค.ศ. 2019
ไวต์ฮอร์สใน ค.ศ. 2019
สมญา: 
คำขวัญ: 
ประชาชนของเรา ความแข็งแกร่งของเรา
ไวต์ฮอร์สตั้งอยู่ในแคนาดา
ไวต์ฮอร์ส
ไวต์ฮอร์ส
ที่ตั้งในแคนาดา
พิกัด: 60°43′27″N 135°03′22″W / 60.72417°N 135.05611°W / 60.72417; -135.05611
ประเทศแคนาดา
ดินแดนยูคอน
ก่อตั้ง1898
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีDan Curtis
 • หน่วยงานสภานครไวต์ฮอร์ส
 • MPsLarry Bagnell
 • MLAsTed Adel
Nils Clarke
Jeanie Dendys
Paolo Gallina
Elizabeth Hanson
Scott Kent
Tracy McPhee
Richard Mostyn
Ranj Pillai
Elaine Taylor
Kate White
พื้นที่
 • เมืองหลวงของดินแดน416.54 ตร.กม. (160.83 ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง34.95 ตร.กม. (13.49 ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล8,488.91 ตร.กม. (3,277.59 ตร.ไมล์)
ความสูง670–1,702 เมตร (2,200 - 5,584 ฟุต)
ประชากร
 (2016)
 • เมืองหลวงของดินแดน25,085 คน
 • ความหนาแน่น60.2 คน/ตร.กม. (156 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง21,732 คน
 • ความหนาแน่นเขตเมือง621 คน/ตร.กม. (1,610 คน/ตร.ไมล์)
เดมะนิมไวต์ฮอร์เซอร์[2]
เขตเวลาUTC−07:00 (เขตเวลาภูเขา)
Forward sortation areaY1A
รหัสพื้นที่867
NTS Map105D11
รหัส GNBCKABPC
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ

ไวต์ฮอร์ส (อังกฤษ: Whitehorse) เป็นเมืองหลวงและนครเพียงแห่งเดียวของดินแดนยูแคน และเป็นนครที่ใหญ่ที่สุดในภาคเหนือของประเทศแคนาดา ไวต์ฮอร์สได้รับการจัดตั้งเป็นนครใน ค.ศ. 1950 ตั้งอยู่บริเวณกิโลเมตรที่ 1426 (ไมล์ที่ 918) บนทางหลวงอะแลสกาในตอนใต้ของยูคอน ย่านใจกลางเมืองและริเวอร์เดลของนครมีพื้นที่ครอบคลุงทางสองฝั่งของแม่น้ำยูคอนซึ่งไหลจากรัฐบริติชโคลัมเบียและลงสู่ทะเลเบริงในอะแลสกา นครตั้งชื่อตามแก่งไวต์ฮอร์สซึ่งมีลักษณะเหมือนม้าขาว แก่งแห่งนี้อยู่ใกล้กับไมล์แคนยอนในช่วงก่อนที่แม่น้ำจะไปถึงเขื่อน

อันเนื่องจากที่ตั้งของนครที่อยู่ใกล้กับหุบเขาไวต์ฮอร์สและมหาสมุทรแปซิฟิก ทำให้นครมีสภาพภูมิอากาศที่ไม่รุนแรงเหมือนกับนครอื่น ๆ ในทางภาคเหนืออย่างเยลโลว์ไนฟ์[3] ในระดับละติจูดที่สูงนี้ นครมีฤดูหนาวที่สั้น และฤดูร้อนมีแสงแดดถึง 19 ชั่วโมงต่อวัน[4][5] บันทึกสถิติโลกกินเนสส์รายงานว่าไวต์ฮอร์สเป็นเมืองที่มีมลพิษทางอากาศน้อยที่สุดในโลก[6]

จากการสำมะโนครัวปี 2016 นครมีประชากร 25,085 คน[7] คิดเป็นร้อยละ 70 ของประชากรในดินแดนนี้

เมืองพี่น้อง

เมืองพี่น้องในทางประวัติศาสตร์:

  • ออสเตรเลีย Echuca ออสเตรเลีย (พฤศจิกายน ค.ศ. 1977 – กันยายน ค.ศ. 2008)[11]
  • บราซิล Patos de Minas บราซิล

อ้างอิง

  1. "About Whitehorse - Whitehorse, YT". www.city.whitehorse.yk.ca.
  2. "Demonyms—From coast to coast to coast - Language articles - Language Portal of Canada". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-30. สืบค้นเมื่อ 2014-08-24.
  3. Pinard, Jean-Paul (September 2007). "Wind Climate of the Whitehorse Area" (PDF). Arctic. 60 (3): 227–237. doi:10.14430/arctic215.
  4. "Sunrise and sunset times in Whitehorse, June 2018". www.timeanddate.com.
  5. "Whitehorse". The Canadian Encyclopedia. สืบค้นเมื่อ 2011-03-25.
  6. Guinness World Records 2013, Page 036 (Hardcover edition). ISBN 9781904994879
  7. "Census Profile, 2016 Census - Whitehorse, City [Census subdivision], Yukon and Yukon, Territory [Census division], Yukon". www12.statcan.gc.ca. Statistics Canada-Government of Canada. 8 February 2017.
  8. "Lancieux, France Sister City Program". City of Whitehorse. สืบค้นเมื่อ 2014-10-27.
  9. "Ushiku, Japan Sister City Program". City of Whitehorse. สืบค้นเมื่อ 2014-10-27.
  10. "Ushiku mayor bids thanks, farewell to Whitehorse". Whitehorse Daily Star. 9 August 2005. สืบค้นเมื่อ 2011-03-19.
  11. "Item 12660" (PDF). Shire of Campaspe – Minutes. 16 September 2008. สืบค้นเมื่อ 2011-03-19.

แหล่งข้อมูลอื่น