ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รูปวงรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
== นิยาม ==
วงรีมักนิยามเป็น[[โลกัส (คณิตศาสตร์)|โลกัส]]ของจุดในระนาบสองมิติ โดยจากจุดโฟกัส <math>F_1</math>กับ <math>F_2</math>และระยะทาง <math>2a</math>จะนิยามวงรีเป็นเซตของจุด <math>P</math>ทั้งหมดที่ทำให้ผลบวกของระยะทาง <math>|PF_1|</math>กับ <math>|PF_2|</math>เป็น <math>2a</math>หรือเขียนเป็นสัญกรณ์ว่า <math>E = \{P \in \R^2|\ |PF_1| + |PF_2| = 2a \}</math>(กรณีที่ <math>2a \le |F_1F_2|</math>จะลดรูปเป็นเส้นตรง ดังนั้นเพื่อให้เป็นวงรีจะต้องบังคับ <math>2a >|F_1F_2|</math>)

จุดกึ่งกลางของส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุดโฟกัสทั้งสอง เรียกว่า''จุดศูนย์กลาง''ของวงรี เส้นตรงที่ผ่านจุดโฟกัสทั้งสองเรียกว่า''แกนเอก'' และเส้นที่ผ่านจุดศูนย์กลางและตั้งฉากกับแกนเอกเรียกว่า''แกนโท'' แกนเอกตัดกับวงกลมที่''จุดยอด'' ซึ่งห่างจากจุดศูนย์กลาง <math>a</math>หน่วย ระยะทางจากจุดโฟกัสไปจุดศูนย์กลางเรียกว่า''ระยะโฟกัส'' <math>c</math>อัตราส่วน <math>\tfrac{c}{a} = e</math>คือ''ความเยื้องศูนย์กลาง''

== สมบัติ ==
== สมบัติ ==
ใน[[ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน]] วงรีที่มีจุดศูนย์กลางที่ <math>(h,k)</math>แกนเอกขนานแกน ''x'' ยาว <math>2a</math>แกนโทขนานแกน ''y'' ยาว <math>2b</math>เขียนสมการได้เป็น:
ใน[[ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน]] วงรีที่มีจุดศูนย์กลางที่ <math>(h,k)</math>แกนเอกขนานแกน ''x'' ยาว <math>2a</math>แกนโทขนานแกน ''y'' ยาว <math>2b</math>เขียนสมการได้เป็น:

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:43, 6 มิถุนายน 2563

สมบัติ

ในระบบพิกัดคาร์ทีเซียน วงรีที่มีจุดศูนย์กลางที่ แกนเอกขนานแกน x ยาว แกนโทขนานแกน y ยาว เขียนสมการได้เป็น:

ความเยื้องศูนย์กลางของวงรีเป็นไปตามสูตร

หากใช้ระบบสมการอิงตัวแปรเสริม จะสามารถเขียนวงรีในรูปของฟังก์ชันตรีโกณมิติเป็น

หากแทน จะได้สมการตัวแปรเสริมอีกรูปคือ

ในพิกัดเชิงขั้ว หากใช้จุดศูนย์กลางของวงรีเป็นจุดกำเนิด และวัดมุมเทียบกับแกนเอก จะได้เป็นสมการ

แต่หากใช่จุดโฟกัสเป็นจุดกำเนิด จะได้สมการที่ง่ายกว่า คือ

วงรีมีพื้นที่ เห็นได้จากการมองวงรีเป็นวงกลมรัศมี ที่ถูกยืดออก เท่า จึงได้พื้นที่เป็น หรืออาจพิสูจน์จากการอินทิเกรต โดยจัดรูปสมการวงรี เป็น อินทิเกรตจาก ถึง จะได้พื้นที่ครึ่งบน ดังนั้นได้เป็น

ความยาวรอบรูปของวงรีไม่สามารถเขียนเป็นสูตรอย่างง่ายได้ โดยมีค่าเท่ากับอินทิกรัล

เมื่อ เป็นปริพันธ์วงรีสมบูรณ์ชนิดที่สอง (Complete elliptic integral of the second kind)

สูตรความยาวรอบรูปสามารถเขียนในรูปอนุกรมอนันต์ได้เป็น

รามานุจันได้ให้สูตรประมาณค่าความยาวรอบรูปว่า