ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
[[File:SDLC-Maintenance-Highlighted.png|thumb|รูปแบบคร่าว ๆ ของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ]]
[[File:SDLC-Maintenance-Highlighted.png|thumb|รูปแบบคร่าว ๆ ของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ]]


'''วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ''' ({{lang-en|systems development life cycle หรือ SDLC}}) หรือ '''วงจรการพัฒนาแอปพลิเคชัน''' ({{lang-en|application development life-cycle}}) เป็นโครงร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อใช้เป็นขั้นตอนการพัฒนา [[ระบบสารสนเทศ]] หรือ[[ซอฟต์แวร์]]ให้สำเร็จ โดยการให้มาซึ่งซอฟต์แวร์อาจจะเป็นโดยการซื้อหรือการจ้างทำหรือการพัฒนาเองก็ได้
ในด้าน[[วิศวกรรมระบบ]] [[ระบบสารสนเทศ]] และ[[วิศวกรรมซอฟต์แวร์]] '''วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ''' ({{lang-en|systems development life cycle หรือ SDLC}}) หรือ '''วงจรการพัฒนาแอปพลิเคชัน''' ({{lang-en|application development life-cycle}}) เป็นกระบวนการวางแผน สร้าง ทดสอบ และปรับใช้[[ระบบสารสนเทศ]]<ref>[https://www.cms.gov/Research-Statistics-Data-and-Systems/CMS-Information-Technology/XLC/Downloads/SelectingDevelopmentApproach.pdf SELECTING A DEVELOPMENT APPROACH]. Retrieved 17 July 2014.</ref> หลักการของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศสามารถนำมาใช้ได้ในส่วนประกอบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ โดยระบบนั้นอาจเป็นฮาร์ดแวร์อย่างเดียว ซอฟต์แวร์อย่างเดียว หรือมีทั้งสองอย่างก็ได้<ref>{{cite journal |author1=Parag C. Pendharkara |author2=James A. Rodgerb |author3=Girish H. Subramanian | date=November 2008 |title=An empirical study of the Cobb–Douglas production function properties of software development effort |journal=Information and Software Technology |volume=50 |issue=12 | pages= 1181–1188 | doi=10.1016/j.infsof.2007.10.019}}</ref>


== ลำดับวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ ==
ระเบียบวิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์มีอยู่หลายวิธีการ แต่ละวิธีการมีข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกัน ตัวอย่างระเบียบวิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ได้รับความนิยม เช่น [[โครงสร้างแบบน้ำตก]] (Waterfall Model), [[โครงสร้างแบบก้นหอย]] (Spiral Model), วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์แบบคล่องแคล่วว่องไว (Agile Software Development)

== ลำดับวงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟต์แวร์ ==
# '''การวางแผน (Planning)''' เป็นขั้นตอนการการวางแผนงานโดย กำหนดรูปแบบของซอฟต์แวร์ ประมาณการต้นทุนในการพัฒนาระบบ กำหนดแนวทางของการพัฒนาระบบ กำหนดระยะเวลา เป็นต้น
# '''การวางแผน (Planning)''' เป็นขั้นตอนการการวางแผนงานโดย กำหนดรูปแบบของซอฟต์แวร์ ประมาณการต้นทุนในการพัฒนาระบบ กำหนดแนวทางของการพัฒนาระบบ กำหนดระยะเวลา เป็นต้น
# '''การวิเคราะห์ความต้องการ (Analysis)''' เป็นขั้นตอนของการค้นหาความต้องการของระบบ และวิเคราะห์ความต้องการนั้น เพื่อให้เข้าใจภาพรวมและหน้าที่การทำงานของระบบ
# '''การวิเคราะห์ความต้องการ (Analysis)''' เป็นขั้นตอนของการค้นหาความต้องการของระบบ และวิเคราะห์ความต้องการนั้น เพื่อให้เข้าใจภาพรวมและหน้าที่การทำงานของระบบ
บรรทัด 17: บรรทัด 15:
# '''การนำไปใช้งานงานจริง (Production)''' เป็นขั้นตอนที่นำระบบที่พัฒนาสำเร็จและผ่านการทดสอบแล้วไปใช้งาน โดยทำการติดตั้ง และสอนวิธีการใช้งานแก่ผู้ใช้
# '''การนำไปใช้งานงานจริง (Production)''' เป็นขั้นตอนที่นำระบบที่พัฒนาสำเร็จและผ่านการทดสอบแล้วไปใช้งาน โดยทำการติดตั้ง และสอนวิธีการใช้งานแก่ผู้ใช้
# '''การให้ความช่วยเหลือ (Support)''' เป็นขั้นตอนของการให้ความช่วยเหลือต่อผู้ใช้ เมื่อพบปัญหา โดยหากปัญหาที่เกิดไม่สามารถแก้ไขได้ จะต้องทำการพัฒนาระบบเพิ่มเติม ก็จะเริ่มวนไปที่ขั้นตอนแรกใหม่
# '''การให้ความช่วยเหลือ (Support)''' เป็นขั้นตอนของการให้ความช่วยเหลือต่อผู้ใช้ เมื่อพบปัญหา โดยหากปัญหาที่เกิดไม่สามารถแก้ไขได้ จะต้องทำการพัฒนาระบบเพิ่มเติม ก็จะเริ่มวนไปที่ขั้นตอนแรกใหม่

== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์]]
[[หมวดหมู่:กระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:24, 23 พฤศจิกายน 2562

รูปแบบคร่าว ๆ ของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ

ในด้านวิศวกรรมระบบ ระบบสารสนเทศ และวิศวกรรมซอฟต์แวร์ วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ (อังกฤษ: systems development life cycle หรือ SDLC) หรือ วงจรการพัฒนาแอปพลิเคชัน (อังกฤษ: application development life-cycle) เป็นกระบวนการวางแผน สร้าง ทดสอบ และปรับใช้ระบบสารสนเทศ[1] หลักการของวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศสามารถนำมาใช้ได้ในส่วนประกอบฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ โดยระบบนั้นอาจเป็นฮาร์ดแวร์อย่างเดียว ซอฟต์แวร์อย่างเดียว หรือมีทั้งสองอย่างก็ได้[2]

ลำดับวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ

  1. การวางแผน (Planning) เป็นขั้นตอนการการวางแผนงานโดย กำหนดรูปแบบของซอฟต์แวร์ ประมาณการต้นทุนในการพัฒนาระบบ กำหนดแนวทางของการพัฒนาระบบ กำหนดระยะเวลา เป็นต้น
  2. การวิเคราะห์ความต้องการ (Analysis) เป็นขั้นตอนของการค้นหาความต้องการของระบบ และวิเคราะห์ความต้องการนั้น เพื่อให้เข้าใจภาพรวมและหน้าที่การทำงานของระบบ
  3. การออกแบบ (Design) เป็นขั้นตอนการออกแบบส่วนประกอบต่างๆของซอฟต์แวร์ เพื่อให้ตรงกับความต้องการที่ได้วิเคราะห์มาแล้ว
  4. การเขียนโปรแกรม (Development) เป็นขั้นตอนการสร้างระบบโดยการเขียนโปรแกรม ตามแนวทางการออกแบบจากขั้นตอนที่ผ่านมา
  5. การทดสอบ (Testing) เป็นขั้นตอนการนำระบบที่ทำมาทดสอบการใช้งาน ว่าทำงานถูกต้องตามความต้องการที่ได้หรือไม่ ซึ่งการทดสอบนี้จะรวมถึงการทดสอบการเชื่อมโยงกับระบบซอฟต์แวร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องด้วย
  6. การประเมิน (Evaluate) เป็นขั้นตอนการประเมินว่าระบบที่ผ่านการทดสอบแล้ว เหมาะสมที่จะนำไปใช้งานได้หรือไม่
  7. การโอนย้ายข้อมูล (Data Conversion) เป็นขั้นตอนการนำข้อมูลเก่าเข้าระบบใหม่ก่อนการนำระบบไปใช้จริง
  8. การนำไปใช้งานงานจริง (Production) เป็นขั้นตอนที่นำระบบที่พัฒนาสำเร็จและผ่านการทดสอบแล้วไปใช้งาน โดยทำการติดตั้ง และสอนวิธีการใช้งานแก่ผู้ใช้
  9. การให้ความช่วยเหลือ (Support) เป็นขั้นตอนของการให้ความช่วยเหลือต่อผู้ใช้ เมื่อพบปัญหา โดยหากปัญหาที่เกิดไม่สามารถแก้ไขได้ จะต้องทำการพัฒนาระบบเพิ่มเติม ก็จะเริ่มวนไปที่ขั้นตอนแรกใหม่

อ้างอิง

  1. SELECTING A DEVELOPMENT APPROACH. Retrieved 17 July 2014.
  2. Parag C. Pendharkara; James A. Rodgerb; Girish H. Subramanian (November 2008). "An empirical study of the Cobb–Douglas production function properties of software development effort". Information and Software Technology. 50 (12): 1181–1188. doi:10.1016/j.infsof.2007.10.019.