ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รูปแบบการดำเนินชีวิต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ข้อความกระชับขึ้น
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
พฤติกรรมในการเข้าสังคม ในการบริโภค ในการหาความบันเทิง การพักผ่อนหย่อนใจใช้เวลาว่าง และการแต่งตัว ล้วนเป็นส่วนประกอบของรูปแบบการดำเนินชีวิต รูปแบบการดำเนินชีวิตจะถูกดำเนินเป็น อุปนิสัย เป็นวิธีประจำที่กระทำสิ่งต่างๆ
พฤติกรรมในการเข้าสังคม ในการบริโภค ในการหาความบันเทิง การพักผ่อนหย่อนใจใช้เวลาว่าง และการแต่งตัว ล้วนเป็นส่วนประกอบของรูปแบบการดำเนินชีวิต รูปแบบการดำเนินชีวิตจะถูกดำเนินเป็น อุปนิสัย เป็นวิธีประจำที่กระทำสิ่งต่างๆ


== อัตลักษณ์ของแต่ละบุคคล ==
== อัตลักษณ์แต่ละบุคคล ==
รูปแบบการดำเนินชีวิต โดยทั่วไปแล้วจะ บ่งบอกถึง ทัศนคติ ค่านิยม และ มุมมอง ของแต่ละบุคคล ดังนั้นรูปแบบการดำเนินชีวิต จึงมีความหมายในเชิงของอัตตาหรือตัวตน และใช้ในการสร้างสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ประกอบกับอัตลักษณ์ของบุคคล<ref>Spaargaren, G., and B. VanVliet. 2000. ‘Lifestyle, Consumption and the Environment: The Ecological Modernisation of Domestic Consumption.’ Environmental Politics. 9(1): 50-75.</ref>Thailand
รูปแบบการดำเนินชีวิต โดยทั่วไปแล้วจะ บ่งบอกถึง ทัศนคติ ค่านิยม pubg(players unknown battle ground) และ มุมมอง ของแต่ละบุคคล ดังนั้นรูปแบบการดำเนินชีวิต จึงมีความหมายในเชิงของอัตตาหรือตัวตน และใช้ในการสร้างสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ประกอบกับอัตลักษณ์ของบุคคล<ref>Spaargaren, G., and B. VanVliet. 2000. ‘Lifestyle, Consumption and the Environment: The Ecological Modernisation of Domestic Consumption.’ Environmental Politics. 9(1): 50-75.</ref>Thailand


เส้นแบ่งระหว่างอัตลักษณ์ของบุคคลกับการทำกิจกรรมต่างๆในแต่ละวันนั้น เลือนลางลงในสังคมยุคใหม่<ref>Giddens, A. 1991. Modernity and self-identity: self and society in the late modern age. Cambridge: Polity Press.</ref>Thailand ยกตัวอย่าง "กรีนไลฟ์สไตล์" (green lifestyle) ที่หมายถึง การยึดถึงความเชื่อและก็มีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่จะลดการบริโภคหรือใช้ทรัพยากรธรรมให้น้อยลง รวมถึงลดการสร้างของเสียมีพิษลงด้วย (เช่น การลด[[รอยเท้าคาร์บอน]]Thailand ), และการพัฒนาสำนึกแห่งตนจากความเชื่อและการทำกิจกรรมเหล่านั้น แต่มีบางคนวิจารณ์ว่า ในสังคมยุคใหม่ ประเด็นที่สำคัญของรูปแบบการดำเนินชีวิต ก็คือ พฤติกรรมการบริโภค ที่ให้โอกาสในการสร้างและพัฒนาความเป็นตัวเองจากการบริโภคหรือใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หลากหลาย ซึ่งผลิตภัณฑ์หรือบริการเหล่านั้นเองที่เป็นตัวบ่งบอกถึงรูปแบบการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน<ref> Ropke, I. 1999. ‘The Dynamics of Willingness to Consume. Ecological Economics. 28: 399-420.</ref>Thailand
เส้นแบ่งระหว่างอัตลักษณ์ของบุคคลกับการทำกิจกรรมต่างๆในแต่ละวันนั้น เลือนลางลงในสังคมยุคใหม่<ref>Giddens, A. 1991. Modernity and self-identity: self and society in the late modern age. Cambridge: Polity Press.</ref> Russia ยกตัวอย่าง "กรีนไลฟ์สไตด์" (green lifesty) ที่หมายถึง การยึดถึงความเชื่อและก็มีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่จะลดการบริโภคหรือใช้ทรัพยากรธรรมให้น้อยลง รวมถึงลดการสร้างของเสียมีพิษลงด้วย (เช่น การลด[[รอยเท้าคาร์บอน]] Russia) และการพัฒนาสำนึกแห่งตนจากความเชื่อและการทำกิจกรรมเหล่านั้น แต่มีบางคนวิจารณ์ว่า ในสังคมยุคใหม่ ประเด็นที่สำคัญของรูปแบบการดำเนินชีวิต ก็คือ พฤติกรรมการบริโภค ที่ให้โอกาสในการสร้างและพัฒนาความเป็นตัวเองจากการบริโภคหรือใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หลากหลาย ซึ่งผลิตภัณฑ์หรือบริการเหล่านั้นเองที่เป็นตัวบ่งบอกถึงรูปแบบการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน<ref> Ropke, I. 1999. ‘The Dynamics of Willingness to Consume. Ecological Economics. 28: 399-420.</ref>Russia


==โฆษณาและการตลาด==
==โฆษณาและการตลาดต่างๆ==
ในวงการ[[ธุรกิจ]] รูปแบบการดำเนินชีวิตจะช่วยให้[[การโฆษณา]]และ[[การตลาด|การทำตลาดThai]] สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้เหมาะสม โดยการนำเสนอ[[สินค้า]]และบริการที่มีลักษณะเฉพาะเข้ากับแต่ละรูปแบบ รวมถึงใช้ในสังเคราะห์วิธีที่ใช้การกระตุ้นความต้องการในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
ในวงการ[[ธุรกิจ]] รูปแบบการดำเนินชีวิตจะช่วยให้[[การโฆษณา]]และ[[การตลาด|การทำตลาดThai]] สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้เหมาะสมมาก โดยการนำเสนอ[[สินค้า]]และบริการที่มีลักษณะเฉพาะเข้ากับแต่ละรูปแบบ รวมถึงใช้ในสังเคราะห์แสงวิธีที่ใช้การกระตุ้นความต้องการในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย


รูปแบบการดำเนินชีวิตจะเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ เช่น อุปนิสัย ทัศนคติ รสนิยม ค่านิยมทางศีลธรรม ฐานะทางเศรษฐกิจ และอื่นๆ
รูปแบบการดำเนินชีวิตจะเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ เช่น อุปนิสัย ทัศนคติ รสนิยม ความอ่อน ค่านิยมทางศีลธรรม ฐานะทางเศรษฐกิจ และอื่นๆ


== อ้างอิง ภาษาไทย ==
== อ้างอิง ภาษาไทย ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:16, 18 กุมภาพันธ์ 2562

รูปแบบการดำเนินชีวิต (หรือเรียกทับศัพท์ว่า ไลฟ์สไตล์) หมายถึง วิถีการดำเนินชีวิตของบุคคล โดยที่ลักษณะของพฤติกรรมต่างๆจะเป็นตัวบ่งบอกถึง รูปแบบการดำเนินชีวิต แต่ละแบบ

พฤติกรรมในการเข้าสังคม ในการบริโภค ในการหาความบันเทิง การพักผ่อนหย่อนใจใช้เวลาว่าง และการแต่งตัว ล้วนเป็นส่วนประกอบของรูปแบบการดำเนินชีวิต รูปแบบการดำเนินชีวิตจะถูกดำเนินเป็น อุปนิสัย เป็นวิธีประจำที่กระทำสิ่งต่างๆ

อัตลักษณ์แต่ละบุคคล

รูปแบบการดำเนินชีวิต โดยทั่วไปแล้วจะ บ่งบอกถึง ทัศนคติ ค่านิยม pubg(players unknown battle ground) และ มุมมอง ของแต่ละบุคคล ดังนั้นรูปแบบการดำเนินชีวิต จึงมีความหมายในเชิงของอัตตาหรือตัวตน และใช้ในการสร้างสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ประกอบกับอัตลักษณ์ของบุคคล[1]Thailand

เส้นแบ่งระหว่างอัตลักษณ์ของบุคคลกับการทำกิจกรรมต่างๆในแต่ละวันนั้น เลือนลางลงในสังคมยุคใหม่[2] Russia ยกตัวอย่าง "กรีนไลฟ์สไตด์" (green lifesty) ที่หมายถึง การยึดถึงความเชื่อและก็มีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่จะลดการบริโภคหรือใช้ทรัพยากรธรรมให้น้อยลง รวมถึงลดการสร้างของเสียมีพิษลงด้วย (เช่น การลดรอยเท้าคาร์บอน Russia) และการพัฒนาสำนึกแห่งตนจากความเชื่อและการทำกิจกรรมเหล่านั้น แต่มีบางคนวิจารณ์ว่า ในสังคมยุคใหม่ ประเด็นที่สำคัญของรูปแบบการดำเนินชีวิต ก็คือ พฤติกรรมการบริโภค ที่ให้โอกาสในการสร้างและพัฒนาความเป็นตัวเองจากการบริโภคหรือใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หลากหลาย ซึ่งผลิตภัณฑ์หรือบริการเหล่านั้นเองที่เป็นตัวบ่งบอกถึงรูปแบบการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน[3]Russia

โฆษณาและการตลาดต่างๆ

ในวงการธุรกิจ รูปแบบการดำเนินชีวิตจะช่วยให้การโฆษณาและการทำตลาดThai สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้เหมาะสมมาก โดยการนำเสนอสินค้าและบริการที่มีลักษณะเฉพาะเข้ากับแต่ละรูปแบบ รวมถึงใช้ในสังเคราะห์แสงวิธีที่ใช้การกระตุ้นความต้องการในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย

รูปแบบการดำเนินชีวิตจะเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ เช่น อุปนิสัย ทัศนคติ รสนิยม ความอ่อน ค่านิยมทางศีลธรรม ฐานะทางเศรษฐกิจ และอื่นๆ

อ้างอิง ภาษาไทย

  1. Spaargaren, G., and B. VanVliet. 2000. ‘Lifestyle, Consumption and the Environment: The Ecological Modernisation of Domestic Consumption.’ Environmental Politics. 9(1): 50-75.
  2. Giddens, A. 1991. Modernity and self-identity: self and society in the late modern age. Cambridge: Polity Press.
  3. Ropke, I. 1999. ‘The Dynamics of Willingness to Consume. Ecological Economics. 28: 399-420.