ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมการชเรอดิงเงอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แจ้งไม่เป็นสารานุกรมด้วยสจห.
Kanchaporn Tantivichitvech (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
|equation=<math>i \hbar \frac{\partial}{\partial t}\Psi(\mathbf{r},t) = \hat H \Psi(\mathbf{r},t)</math>|border colour=#FFFFFF|background colour=#FDD7E4}}
|equation=<math>i \hbar \frac{\partial}{\partial t}\Psi(\mathbf{r},t) = \hat H \Psi(\mathbf{r},t)</math>|border colour=#FFFFFF|background colour=#FDD7E4}}


โดยที่
โดยที่ {{math|''i''}} คือ [[หน่วยจินตภาพ]], {{math|''ħ''}} คือ [[ค่าคงตัวของพลังค์แบบลดค่า]], สัญลักษณ์ {{math|{{sfrac|∂|∂''t''}}}} แสดงถึง [[อนุพันธ์ย่อย]]เทียบกับเวลา {{math|''t''}}, {{math|''Ψ''}} (อักษรกรีก [[Psi (letter)|psi]]) คือ [[ฟังก์ชันคลื่น]]ในระบบควอนตัม, {{math|'''r'''}} และ {{math|''t''}} คือ เวกเตอร์บอกตำแหน่งและเวลา ตามลำดับ, และ {{math|''Ĥ''}} คือ [[ตัวดำเนินการฮามิลโทเนียน]]

{{math|''i''}} คือ [[หน่วยจินตภาพ]]

{{math|''ħ''}} คือ [[ค่าคงตัวของพลังค์แบบลดค่า]]

สัญลักษณ์ {{math|{{sfrac|∂|∂''t''}}}} แสดงถึง [[อนุพันธ์ย่อย]]เทียบกับเวลา {{math|''t''}}

{{math|''Ψ''}} (อักษรกรีก [[Psi (letter)|psi]]) คือ [[ฟังก์ชันคลื่น]]ในระบบควอนตัม

{{math|'''r'''}} และ {{math|''t''}} คือ เวกเตอร์บอกตำแหน่งและเวลา ตามลำดับ

{{math|''Ĥ''}} คือ [[ตัวดำเนินการฮามิลโทเนียน]]


=== สมการชเรอดิงเงอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา ===
=== สมการชเรอดิงเงอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:18, 27 มกราคม 2560

Erwin Schrödinger

ในปี 1925 แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ (Erwin Schrödinger) นักฟิสิกส์ชาวออสเตรีย ได้ค้นพบ "สมการชเรอดิงเงอร์" ซึ่งนำมาใช้อธิบายและวิเคราะห์ปรากฏการณ์ของกลศาสตร์ควอนตัมได้อย่างถูกต้อง สมการชเรอดิงเงอร์เป็นสมการเชิงอนุพันธ์ย่อยที่เชื่อมโยงกับสมมติฐานของเดอบรอยย์  (De Broglie hypothesis) ที่ว่า 'อนุภาคแสดงสมบัติของคลื่นได้'[1] ชเรอดิงเงอร์ได้วิเคราะห์ว่าสมการการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนควรจะคล้ายกับสมการคลื่น และเรียกสมบัติของอิเล็กตรอนหรืออนุภาคอื่นว่า "ฟังก์ชันคลื่น" (Wave function) โดยสามารถแก้สมการชเรอดิงเงอร์เพื่อหาพฤติกรรมการเคลื่อนที่ของอนุภาคได้ จากการค้นพบสมการชเรอดิงเงอร์ทำให้แอร์วิน ชเรอดิงเงอร์ได้รับรางวัลโนเบล สาขาฟิสิกส์ ในปี 1933[2]

สมการชเรอดิงเงอร์แบ่งออกได้เป็นสมการชเรอดิงเงอร์ที่ขึ้นกับเวลา และสมการชเรอดิงเงอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา

สมการ

สมการชเรอดิงเงอร์ที่ขึ้นกับเวลา[3]

โดยที่

i คือ หน่วยจินตภาพ

ħ คือ ค่าคงตัวของพลังค์แบบลดค่า

สัญลักษณ์ /t แสดงถึง อนุพันธ์ย่อยเทียบกับเวลา t

Ψ (อักษรกรีก psi) คือ ฟังก์ชันคลื่นในระบบควอนตัม

r และ t คือ เวกเตอร์บอกตำแหน่งและเวลา ตามลำดับ

Ĥ คือ ตัวดำเนินการฮามิลโทเนียน

สมการชเรอดิงเงอร์ที่ไม่ขึ้นกับเวลา

สมการนี้เป็นการเขียนให้อยู่ในรูปตัวดำเนินการฮามิลโทเนียน ซึ่งจะเรียกสมการนี้ว่าสมการEigenvalue ที่มีค่าคงตัว E เป็น Eigenvalue และมี Ψ เป็น Eigen function[4]

อ้างอิง

  1. นรา จิรภัทรมล. (2553). กลศาสตร์ควอนตัม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.หน้า 19-31
  2. พยงค์ ตันศิริ. (2525). คลื่นและฟิสิกส์ควอนตัมเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 231-241.
  3. Shankar, R. (1994). Principles of Quantum Mechanics (2nd ed.). Kluwer Academic/Plenum Publishers. ISBN 978-0-306-44790-7.
  4. พงษ์แก้ว อุดมสมุทรหิรัญ. ทฤษฎีควอนตัมพื้นฐาน. ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.