ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปีไร้ฤดูร้อน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
Ponpan (คุย | ส่วนร่วม)
ลบหมวดหมู่:ภูเขาไฟระเบิด; เพิ่มหมวดหมู่:การปะทุของภูเขาไฟด้วย[[วิกิพีเดีย:ฮอทแคต|ฮอทแค...
บรรทัด 15: บรรทัด 15:


[[หมวดหมู่:ทุพภิกขภัย]]
[[หมวดหมู่:ทุพภิกขภัย]]
[[หมวดหมู่:ภูเขาไฟระเบิด]]
[[หมวดหมู่:การปะทุของภูเขาไฟ]]
[[หมวดหมู่:ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อม]]
[[หมวดหมู่:ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อม]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ภูมิอากาศ]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ภูมิอากาศ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:54, 19 ตุลาคม 2559

อุณหภูมิเฉลี่ยรอบโลกในช่วงหนึ่งพันปีที่ผ่านมา จะสังเกตเห็นอุณหภูมิที่ลดต่ำลงอย่างผิดปกติไม่นานหลังจากปี ค.ศ. 1800
อุณภูมิผิดปกติของหน้าร้อนปี ค.ศ. 1816 เมื่อเทียบกับสภาวะอากาศระหว่างปี ค.ศ. 1971 ถึงปี ค.ศ. 2000

ปีไร้ฤดูร้อน หรือ ปีแห่งความยากเข็ญ (อังกฤษ: Year Without a Summer หรือ Poverty Year หรือ Year There Was No Summer หรือ Eighteen Hundred and Froze to Death[1]) คือปี ค.ศ. 1816 ซึ่งเป็นปีที่อากาศในช่วงฤดูร้อนผิดจากปกติที่มีผลในการทำลายพืชพันธุ์ธัญญาหารของยุโรปเหนือ, ตะวันออกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา และ แคนาดา[2][3] นักประวัติศาสตร์ จอห์น ดี. โพสต์เรียกช่วงเวลานี้ว่าเป็น “ช่วงเวลาแห่งวิกฤตการณ์อันยากเข็ญครั้งยิ่งใหญ่ครั้งสุดท้ายในโลกตะวันตก”[4]

โดยทั่วไปแล้วก็ถือว่าอากาศที่ผิดปกติมีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายอย่างที่รวมทั้งระดับการผันแปรของรังสีบนดวงอาทิตย์ที่ต่ำกว่าปกติมาก และฤดูหนาวที่เกิดจากภูเขาไฟระเบิด เหตุการณ์หลังเกิดจากการระเบิดของภูเขาไฟหลายครั้งที่จบลงด้วยการระเบิดของภูเขาไฟแทมโบราในอินโดนีเซียในปี ค.ศ. 1815 ซึ่งเป็นการระเบิดของภูเขาไฟครั้งที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่ทราบในรอบ 1,600 ปี

อ้างอิง

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น