ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สภาพผสมเข้ากันได้"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Lotje (คุย | ส่วนร่วม)
{{commonscat|Immiscible liquids}}
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
 
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


ในทางตรงข้าม สสารสองชนิดจะกล่าวว่าไม่สามารถผสมเข้ากันได้ ถ้าหากเมื่อผสมสารทั้งสองด้วยอัตราส่วนบางค่าแล้วไม่เกิดสารละลาย ตัวอย่างเช่น [[ไดเอทิลอีเทอร์]]เป็นสารที่ละลายได้ในน้ำพอสมควร แต่[[ตัวทำละลาย]]ทั้งสองไม่สามารถผสมเข้ากันได้ เนื่องจากไม่สามารถละลายได้ในทุกอัตราส่วน
ในทางตรงข้าม สสารสองชนิดจะกล่าวว่าไม่สามารถผสมเข้ากันได้ ถ้าหากเมื่อผสมสารทั้งสองด้วยอัตราส่วนบางค่าแล้วไม่เกิดสารละลาย ตัวอย่างเช่น [[ไดเอทิลอีเทอร์]]เป็นสารที่ละลายได้ในน้ำพอสมควร แต่[[ตัวทำละลาย]]ทั้งสองไม่สามารถผสมเข้ากันได้ เนื่องจากไม่สามารถละลายได้ในทุกอัตราส่วน
{{commonscat|Immiscible liquids}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Immiscible liquids}}
[[หมวดหมู่:สมบัติทางเคมี]]
[[หมวดหมู่:สมบัติทางเคมี]]
{{โครงเคมี}}
{{โครงเคมี}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:32, 11 เมษายน 2558

น้ำมันดีเซลไม่สามารถผสมเข้ากันได้กับน้ำ รูปแบบสีรุ้งเกิดจากการแทรกสอดทางแสง

สภาพผสมเข้ากันได้ เป็นคำที่ใช้ในทางเคมี เพื่ออธิบายสมบัติของของเหลวที่ผสมกันในทุกอัตราส่วน ทำให้เกิดสารละลายเนื้อเดียว ตามหลักการแล้ว สภาพผสมเข้ากันได้สามารถหมายถึงสารในสถานะอื่นก็ได้ (ของแข็งและแก๊ส) แต่จุดสนใจหลักอยู่ที่สภาพละลายได้ของของเหลวชนิดหนึ่ง ในของเหลวอีกชนิดหนึ่ง น้ำและเอทานอลเป็นตัวอย่างของสารที่สามารถผสมเข้ากันได้ในทุกอัตราส่วน

ในทางตรงข้าม สสารสองชนิดจะกล่าวว่าไม่สามารถผสมเข้ากันได้ ถ้าหากเมื่อผสมสารทั้งสองด้วยอัตราส่วนบางค่าแล้วไม่เกิดสารละลาย ตัวอย่างเช่น ไดเอทิลอีเทอร์เป็นสารที่ละลายได้ในน้ำพอสมควร แต่ตัวทำละลายทั้งสองไม่สามารถผสมเข้ากันได้ เนื่องจากไม่สามารถละลายได้ในทุกอัตราส่วน