ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอพิเนฟรีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: de:Adrenalin เป็นบทความคุณภาพ
Polator26 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{สั้นมาก}}
{{สั้นมาก}}
อีพีเนฟรีน (อะดรีนาลิน)...ฮอร์โมนหลั่งป้องกันอันตราย
'''อีพีเนฟรีน''' หรือ'''อะดรีนาลีน''' เป็น[[ฮอร์โมน]]และ[[สารสื่อประสาท]] อีพีเนฟรีนมีหลายหน้าที่ในร่างกาย ทั้งควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ เส้นผ่านศูนย์กลางหลอดเลือดและช่องลม และการเปลี่ยนแปลง[[เมแทบอลิซึม]] การหลั่งอีพีเนฟรีนเป็นส่วนสำคัญของการตอบสนองแบบสู้หรือหนีของ[[ระบบประสาทซิมพาเทติก]] ในแง่เคมี อีพีเนฟรีนเป็นมอโนเอมีนกลุ่มหนึ่ง ชื่อว่า แคทีโคลามีน ผลิตขึ้นในเซลล์ประสาทของ[[ระบบประสาทส่วนกลาง]] และในเซลล์โครมาฟฟินใน[[ต่อมหมวกไต]] จากกรดอะมิโน[[ฟีนิลอะลานีน]]และ[[ไทโรซีน]]


เคยสังเกตไหมว่า เวลาที่เราโกรธจัด กลัว ตกใจมาก ๆ ตื่นเต้นสุด ๆ ร่างกายของเราจะเกิดปฏิกิริยาบางอย่างขึ้น เช่น หน้าแดง ตัวสั่น มือสั่น หายใจเร็วขึ้น หัวใจเต้นแรง มีกำลังวังชามากขึ้น นี่เป็นผลมาจากฮอร์โมนอะดรีนาลิน (Adrenaline) หรืออีกชื่อว่า อีพีเนฟรีน (Epinephrine) ที่ทุกคนน่าจะรู้จักกัน
[[หมวดหมู่:ฮอร์โมน]]

[[หมวดหมู่:สารสื่อประสาท]]
ฮอร์โมนอะดรีนาลิน สร้างขึ้นจากต่อมหมวกไตจะหลั่งออกมาเวลาที่เราอยู่ในภาวะตกใจ โกรธ ตื่นเต้น ตกอยู่ในอันตราย หรือเกิดความเครียด ซึ่งเมื่อหลั่งออกมาแล้ว จะไปกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก ทำให้ร่างกายเกิดความเปลี่ยนแปลงบางอย่างขึ้น คือ
{{โครงชีววิทยา}}

{{Link GA|de}}
เปลี่ยนไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือด ทำมีน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น การเผาผลาญอาหารเพิ่มมากขึ้น เป็นผลให้กล้ามเนื้อมีแรงมหาศาล

ทำให้แรงดันของโลหิตเพิ่มขึ้น

ทำให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่าง ๆ ขยายตัว แต่เส้นเลือดขนาดเล็กที่ผิวหนัง และช่องท้องหดตัว และกลูโคสไปให้เซลล์ในร่างกายได้มากขึ้น และเข้าสู่ปอดได้รวดเร็ว

กระตุ้นให้หัวใจบีบตัว ทำให้หัวใจเต้นแรงขึ้น มีการสูบฉีดโลหิตเพิ่มขึ้น เพื่อให้ร่างกายตื่นตัวมากกว่าปกติ จะได้เตรียมต่อสู้ หรือหนี

กระตุ้นให้หลอดลมขยายตัว เพื่อให้ปอดรับออกซิเจนได้เต็มที่ ทำให้อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น

รูม่านตาเบิกกว้าง ช่วยให้มองเห็นชัดขึ้น

สิ่งที่เกิดขึ้นนี้จะช่วยให้ร่างกายรู้สึกตื่นตัว มีพละกำลังมากขึ้น เพราะเป็นการกระตุ้นให้กลไกของร่างกายทำงานในประสิทธิภาพขั้นสูงสุด ซึ่งจะช่วยเรามีพละกำลังรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน และป้องกันตัวได้นั่นเอง

หากนึกไม่ออกว่าเป็นอย่างไรก็ลองนึกถึงเวลาเกิดไฟไหม้ดู เคยสงสัยไหมว่าทำไมคนในอยู่ในสถานการณ์นั้นสามารถยกตู้เย็น โทรทัศน์ เครื่องซักผ้าหนัก ๆ วิ่งปร๋อออกมาคนเดียวได้สบาย ๆ นั่นเพราะอะดรีนาลินที่หลั่งออกมาจะไปช่วยเพิ่มพลังให้เราสามารถเอาตัวรอดได้ แต่เมื่อเหตุการณ์สงบแล้ว ลองให้ยกตู้เย็นดูอีกครั้งยังไงก็ยกไม่ไหวแน่ ๆ นี่ล่ะคือพลังของอะดรีนาลิน ซึ่งจะช่วยให้เรามีพลังเพิ่มขึ้นอย่างไม่น่าเชื่อในเวลาสั้น ๆ

อย่างไรก็ตาม ถ้าใครมีการหลั่งฮอร์โมนอะดรีนาลินออกมามากเกินไป โดยเฉพาะคนที่เป็นเนื้องอกในต่อมหมวกไตชั้นใน หรือได้รับสารนี้เกินขนาด ย่อมเกิดอันตรายต่อร่างกายแน่นอน ถ้าแบบไม่รุนแรงนักก็คือจะรู้สึกอ่อนเพลียมาก น้ำหนักลด แต่น้ำตาลในเลือดสูง ผิวหนังตอบสนองเร็ว แต่ถ้ารุนแรงมาก ๆ ก็มีผลถึงแก่ชีวิต เพราะฮอร์โมนนี้จะไปกระตุ้นหัวใจ ทำให้หัวใจเต้นเร็วมากเกินไป จนอาจทำให้หัวใจหยุดเต้นกะทันหัน และยังทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น เสี่ยงต่อเส้นเลือดในสมองแตก แต่หากขาดอะดรีนาลินไปเลย ก็จะทำให้เป็นคนอ่อนแอทั้งทางกายและจิตใจได้เหมือนกัน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:22, 16 กรกฎาคม 2557

อีพีเนฟรีน (อะดรีนาลิน)...ฮอร์โมนหลั่งป้องกันอันตราย

         เคยสังเกตไหมว่า เวลาที่เราโกรธจัด กลัว ตกใจมาก ๆ ตื่นเต้นสุด ๆ ร่างกายของเราจะเกิดปฏิกิริยาบางอย่างขึ้น เช่น หน้าแดง ตัวสั่น มือสั่น หายใจเร็วขึ้น หัวใจเต้นแรง มีกำลังวังชามากขึ้น นี่เป็นผลมาจากฮอร์โมนอะดรีนาลิน (Adrenaline) หรืออีกชื่อว่า อีพีเนฟรีน (Epinephrine) ที่ทุกคนน่าจะรู้จักกัน
         ฮอร์โมนอะดรีนาลิน สร้างขึ้นจากต่อมหมวกไตจะหลั่งออกมาเวลาที่เราอยู่ในภาวะตกใจ โกรธ ตื่นเต้น ตกอยู่ในอันตราย หรือเกิดความเครียด ซึ่งเมื่อหลั่งออกมาแล้ว จะไปกระตุ้นระบบประสาทซิมพาเทติก ทำให้ร่างกายเกิดความเปลี่ยนแปลงบางอย่างขึ้น คือ
          เปลี่ยนไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือด ทำมีน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น การเผาผลาญอาหารเพิ่มมากขึ้น เป็นผลให้กล้ามเนื้อมีแรงมหาศาล 
          ทำให้แรงดันของโลหิตเพิ่มขึ้น 
          ทำให้หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่าง ๆ ขยายตัว แต่เส้นเลือดขนาดเล็กที่ผิวหนัง และช่องท้องหดตัว และกลูโคสไปให้เซลล์ในร่างกายได้มากขึ้น และเข้าสู่ปอดได้รวดเร็ว
          กระตุ้นให้หัวใจบีบตัว ทำให้หัวใจเต้นแรงขึ้น มีการสูบฉีดโลหิตเพิ่มขึ้น เพื่อให้ร่างกายตื่นตัวมากกว่าปกติ จะได้เตรียมต่อสู้ หรือหนี
          กระตุ้นให้หลอดลมขยายตัว เพื่อให้ปอดรับออกซิเจนได้เต็มที่ ทำให้อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น 
          รูม่านตาเบิกกว้าง ช่วยให้มองเห็นชัดขึ้น
         สิ่งที่เกิดขึ้นนี้จะช่วยให้ร่างกายรู้สึกตื่นตัว มีพละกำลังมากขึ้น เพราะเป็นการกระตุ้นให้กลไกของร่างกายทำงานในประสิทธิภาพขั้นสูงสุด ซึ่งจะช่วยเรามีพละกำลังรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน และป้องกันตัวได้นั่นเอง 
         หากนึกไม่ออกว่าเป็นอย่างไรก็ลองนึกถึงเวลาเกิดไฟไหม้ดู เคยสงสัยไหมว่าทำไมคนในอยู่ในสถานการณ์นั้นสามารถยกตู้เย็น โทรทัศน์ เครื่องซักผ้าหนัก ๆ วิ่งปร๋อออกมาคนเดียวได้สบาย ๆ นั่นเพราะอะดรีนาลินที่หลั่งออกมาจะไปช่วยเพิ่มพลังให้เราสามารถเอาตัวรอดได้ แต่เมื่อเหตุการณ์สงบแล้ว ลองให้ยกตู้เย็นดูอีกครั้งยังไงก็ยกไม่ไหวแน่ ๆ นี่ล่ะคือพลังของอะดรีนาลิน ซึ่งจะช่วยให้เรามีพลังเพิ่มขึ้นอย่างไม่น่าเชื่อในเวลาสั้น ๆ 
         อย่างไรก็ตาม ถ้าใครมีการหลั่งฮอร์โมนอะดรีนาลินออกมามากเกินไป โดยเฉพาะคนที่เป็นเนื้องอกในต่อมหมวกไตชั้นใน หรือได้รับสารนี้เกินขนาด ย่อมเกิดอันตรายต่อร่างกายแน่นอน ถ้าแบบไม่รุนแรงนักก็คือจะรู้สึกอ่อนเพลียมาก น้ำหนักลด แต่น้ำตาลในเลือดสูง ผิวหนังตอบสนองเร็ว แต่ถ้ารุนแรงมาก ๆ ก็มีผลถึงแก่ชีวิต เพราะฮอร์โมนนี้จะไปกระตุ้นหัวใจ ทำให้หัวใจเต้นเร็วมากเกินไป จนอาจทำให้หัวใจหยุดเต้นกะทันหัน และยังทำให้ความดันโลหิตสูงขึ้น เสี่ยงต่อเส้นเลือดในสมองแตก แต่หากขาดอะดรีนาลินไปเลย ก็จะทำให้เป็นคนอ่อนแอทั้งทางกายและจิตใจได้เหมือนกัน