ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Sir_Alexander_Canningham.jpg|thumb|right|200px|เซอร์ อเล็กซานเดอร์ คันนิ่งแฮม ไม่ใช่ชาวพุทธ แต่มีคุณูปการต่อชาวพุทธเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นผู้มีส่วนอย่างมากในการฟื้นฟูบูรณะสังเวชนียสถานในอินเดีย]]
[[ไฟล์:Sir_Alexander_Canningham.jpg|thumb|right|200px|เซอร์อเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม ไม่ใช่ชาวพุทธ แต่มีคุณูปการต่อชาวพุทธเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นผู้มีส่วนอย่างมากในการฟื้นฟูบูรณะสังเวชนียสถานในอินเดีย]]


'''เซอร์ อเล็กซานเดอร์ คันนิ่งแฮม''' ([[อังกฤษ]]:Sir Alexander Cunningham) ([[23 มกราคม]] [[ค.ศ. 1814]] - [[28 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1893]]) เป็นนัก[[โบราณคดี]]ชาว[[อังกฤษ]] เคยดำรงตำแหน่งเป็นนายพลและวิศวกรแห่งกองทัพสหราชอาณาจักร ท่านเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะที่ท่านเป็น "บิดาแห่งการสำรวจโบราณคดีอินเดีย"
'''เซอร์อเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม''' (Sir Alexander Cunningham) (23 มกราคม ค.ศ. 1814 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1893) เป็นนัก[[โบราณคดี]]ชาว[[อังกฤษ]] เคยดำรงตำแหน่งเป็นนายพลและวิศวกรแห่งกองทัพสหราชอาณาจักร เขาเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะ "บิดาแห่งการสำรวจโบราณคดีอินเดีย"


== ประวัติ ==
== ประวัติ ==


อเล็กซานเดอร์ คันนิ่งแฮม เกิดในลอนดอน ในปี [[ค.ศ. 1814]] หลังจบการศึกษาเมื่ออายุ 19 ปีท่านได้เดินทางไปรับหน้าที่เป็นวิศวกรของรัฐบาลอินเดียในสมัยยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ และได้รับยศแรกเป็นร้อยตรี หลังจากการเดินทางมาอินเดียของท่าน งานโบราณคดีของอินเดียได้ก้าวหน้าไปอย่างมาก เนื่องจากท่านมีความสนใจในงานการขุดค้นสำรวจทางโบราณคดีของอินเดีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งท่านเป็นผู้ค้นพบพุทธสถานโบราณจำนวนมากในอินเดีย ทำให้[[สังเวชนียสถาน]]ในอินเดียเป็นที่รู้จักของคนทั่วโลกอีกครั้ง นับแต่การเสื่อมไปของศาสนาพุทธเมื่อพันกว่าปีก่อน
อเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม เกิดในลอนดอน ในปี ค.ศ. 1814 หลังจบการศึกษาเมื่ออายุ 19 ปี เขาได้เดินทางไปรับหน้าที่เป็นวิศวกรของรัฐบาลอินเดียในสมัยยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ และได้รับยศแรกเป็นร้อยตรี หลังจากเขาเดินทางมาอินเดีย งานโบราณคดีของอินเดียได้ก้าวหน้าไปอย่างมาก เนื่องจากเขาสนใจขุดค้นสำรวจทางโบราณคดีของอินเดีย นอกจากนี้ เขายังค้นพบพุทธสถานโบราณจำนวนมากในอินเดีย ทำให้[[สังเวชนียสถาน]]ในอินเดียเป็นที่รู้จักของคนทั่วโลกอีกครั้ง นับแต่การเสื่อมไปของศาสนาพุทธเมื่อพันกว่าปีก่อน


ตลอดชีวิตการทำงานของท่าน ท่านได้รับตำแหน่งและเจริญในหน้าที่การงานและได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ยกย่องมากมาย จนท่านได้เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1893 ปัจจุบันท่านเป็นที่รู้จักในฐานะเป็น บิดาแห่งการโบราณคดีอินเดีย<ref>Cunningham, A. (1848) Essay on the Aryan Order of Architecture, as exhibited in the Temples of Kashmir, Calcutta</ref>
ตลอดชีวิตการทำงานของเขา เขาได้รับตำแหน่งและเจริญในหน้าที่การงานและได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ยกย่องมากมาย เขาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1893 ปัจจุบัน เขาเป็นที่รู้จักในฐานะเป็น บิดาแห่งการโบราณคดีอินเดีย<ref>Cunningham, A. (1848) Essay on the Aryan Order of Architecture, as exhibited in the Temples of Kashmir, Calcutta</ref>


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:02, 9 มีนาคม 2557

ไฟล์:Sir Alexander Canningham.jpg
เซอร์อเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม ไม่ใช่ชาวพุทธ แต่มีคุณูปการต่อชาวพุทธเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นผู้มีส่วนอย่างมากในการฟื้นฟูบูรณะสังเวชนียสถานในอินเดีย

เซอร์อเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม (Sir Alexander Cunningham) (23 มกราคม ค.ศ. 1814 – 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1893) เป็นนักโบราณคดีชาวอังกฤษ เคยดำรงตำแหน่งเป็นนายพลและวิศวกรแห่งกองทัพสหราชอาณาจักร เขาเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะ "บิดาแห่งการสำรวจโบราณคดีอินเดีย"

ประวัติ

อเล็กซานเดอร์ คันนิงแฮม เกิดในลอนดอน ในปี ค.ศ. 1814 หลังจบการศึกษาเมื่ออายุ 19 ปี เขาได้เดินทางไปรับหน้าที่เป็นวิศวกรของรัฐบาลอินเดียในสมัยยังเป็นอาณานิคมของอังกฤษ และได้รับยศแรกเป็นร้อยตรี หลังจากเขาเดินทางมาอินเดีย งานโบราณคดีของอินเดียได้ก้าวหน้าไปอย่างมาก เนื่องจากเขาสนใจขุดค้นสำรวจทางโบราณคดีของอินเดีย นอกจากนี้ เขายังค้นพบพุทธสถานโบราณจำนวนมากในอินเดีย ทำให้สังเวชนียสถานในอินเดียเป็นที่รู้จักของคนทั่วโลกอีกครั้ง นับแต่การเสื่อมไปของศาสนาพุทธเมื่อพันกว่าปีก่อน

ตลอดชีวิตการทำงานของเขา เขาได้รับตำแหน่งและเจริญในหน้าที่การงานและได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ยกย่องมากมาย เขาเสียชีวิตในปี ค.ศ. 1893 ปัจจุบัน เขาเป็นที่รู้จักในฐานะเป็น บิดาแห่งการโบราณคดีอินเดีย[1]

อ้างอิง

  1. Cunningham, A. (1848) Essay on the Aryan Order of Architecture, as exhibited in the Temples of Kashmir, Calcutta