ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การวิเคราะห์แบบแท่งเทียนญี่ปุ่น"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
KLBot2 (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 1 interwiki links, now provided by d:Wikidata on d:Q1985686
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''เทคนิคการวิเคราะห์แบบแท่งเทียนญี่ปุ่น''' ({{lang-en|JAPANESE CANDLESTICK CHARTING TECHNIQUES}})เป็นวิธีการวิเคราะห์ทางเทคนิควิธีหนึ่ง ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากประเทศ[[ญี่ปุ่น]] โดยมีประวัติย้อนหลังยาวนานมากกว่า 200 ปี ''นาย มุเนฮิสะ ฮอมมะ'' เป็นผู้พัฒนาคิดค้นแผนภูมิจากการศึกษาวิเคราะห์[[จิตวิทยา]]ของคนในการซื้อขาย และกำหนดราคา[[ข้าว]][[File:หุ้นเทียน.png|thumb|''จาแปนอิส แคนด'ล สตริค ชาร์ตอิ่ง เทคนิควอส์'']] ''ฮอมมะ''ได้เขียนไว้ในหนังสือ 2 เล่ม ชื่อ ซากาตะ เฮนโซ ''<small>(SAKATA HENSO)</small>'' และ โซบะ ซาไออิ โน เดน<small>''(SOBA SAIN NO DEN)''</small> ซึ่ง ''มร.สตีฟ นิสออน'' ได้นำไปแพร่หลายอย่างมากทางประเทศตะวันตก เมื่อประมาณเวลา 10 ปีผ่านไป ราวปี พ.ศ. 2525 กลุ่มประเทศตะวันตกทั้งหลายได้เห็นความมีประสิทธิภาพ กระทั่งเกิดความเชื่อมั่น จึงได้นำไปใช้วิเคราะห์ตลาดหุ้น ตลาดซื้อขายล่วงหน้า และตลาดออปชั่น เครื่องมือตัวนี้ได้มีบุคคลนำเข้ามาวิเคราะห์หุ้นในตลาดหุ้น[[ไทย]] เมื่อ พ.ศ.2530
'''เทคนิคการวิเคราะห์แบบแท่งเทียนญี่ปุ่น''' ({{lang-en|JAPANESE CANDLESTICK CHARTING TECHNIQUES}})เป็นวิธีการวิเคราะห์ทางเทคนิควิธีหนึ่ง ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากประเทศ[[ญี่ปุ่น]] โดยมีประวัติย้อนหลังยาวนานมากกว่า 200 ปี ''นาย มุเนฮิสะ ฮอมมะ'' เป็นผู้พัฒนาคิดค้นแผนภูมิจากการศึกษาวิเคราะห์[[จิตวิทยา]]ของคนในการซื้อขาย และกำหนดราคา[[ข้าว]][[ไฟล์:หุ้นเทียน.png|thumb|''จาแปนอิส แคนด'ล สตริค ชาร์ตอิ่ง เทคนิควอส์'']] ''ฮอมมะ''ได้เขียนไว้ในหนังสือ 2 เล่ม ชื่อ ซากาตะ เฮนโซ ''<small>(SAKATA HENSO)</small>'' และ โซบะ ซาไออิ โน เดน<small>''(SOBA SAIN NO DEN)''</small> ซึ่ง ''มร.สตีฟ นิสออน'' ได้นำไปแพร่หลายอย่างมากทางประเทศตะวันตก เมื่อประมาณเวลา 10 ปีผ่านไป ราวปี พ.ศ. 2525 กลุ่มประเทศตะวันตกทั้งหลายได้เห็นความมีประสิทธิภาพ กระทั่งเกิดความเชื่อมั่น จึงได้นำไปใช้วิเคราะห์ตลาดหุ้น ตลาดซื้อขายล่วงหน้า และตลาดออปชั่น เครื่องมือตัวนี้ได้มีบุคคลนำเข้ามาวิเคราะห์หุ้นในตลาดหุ้น[[ไทย]] เมื่อ พ.ศ. 2530
รูปแบบการวิเคราะห์แบบแท่ง[[เทียน]]ญี่ปุ่น เป็นรูปแบบที่ประกอบขึ้นจากราคาเปิด ราคาปิด ราคาต่ำสุด และราคาสูงสุด และวิธีการวิเคราะห์หรือความหมายที่ได้จะง่ายและชัดเจน แผนภูมิแบบแท่งเทียนนี้ มีอยู่มากกว่า 50 แบบ<ref>แบบ สนิปปิง ท็อป ,แบบชาฝเอ่น บัทท่อม เป็นต้น''(เทคนิคการวิเคราะห์ : www.taladhoon.com)''</ref> ด้วยรูปแบบที่บอกถึงการเปลี่ยน[[ทิศ]]ทางใหม่ ที่มีความหมาย<small>''(MAJOR REVERSAL PATTERN)''</small>
รูปแบบการวิเคราะห์แบบแท่ง[[เทียน]]ญี่ปุ่น เป็นรูปแบบที่ประกอบขึ้นจากราคาเปิด ราคาปิด ราคาต่ำสุด และราคาสูงสุด และวิธีการวิเคราะห์หรือความหมายที่ได้จะง่ายและชัดเจน แผนภูมิแบบแท่งเทียนนี้ มีอยู่มากกว่า 50 แบบ<ref>แบบ สนิปปิง ท็อป ,แบบชาฝเอ่น บัทท่อม เป็นต้น''(เทคนิคการวิเคราะห์ : www.taladhoon.com)''</ref> ด้วยรูปแบบที่บอกถึงการเปลี่ยน[[ทิศ]]ทางใหม่ ที่มีความหมาย<small>''(MAJOR REVERSAL PATTERN)''</small>
{{โครงเศรษฐศาสตร์}}
----
----
<references/>
<references/>
[[หมวดหมู่:การเงิน]]
[[หมวดหมู่:การเงิน]]
[[หมวดหมู่:การค้า]]
[[หมวดหมู่:การค้า]]
{{โครงเศรษฐศาสตร์}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:19, 8 มิถุนายน 2556

เทคนิคการวิเคราะห์แบบแท่งเทียนญี่ปุ่น (อังกฤษ: JAPANESE CANDLESTICK CHARTING TECHNIQUES)เป็นวิธีการวิเคราะห์ทางเทคนิควิธีหนึ่ง ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากประเทศญี่ปุ่น โดยมีประวัติย้อนหลังยาวนานมากกว่า 200 ปี นาย มุเนฮิสะ ฮอมมะ เป็นผู้พัฒนาคิดค้นแผนภูมิจากการศึกษาวิเคราะห์จิตวิทยาของคนในการซื้อขาย และกำหนดราคาข้าว

จาแปนอิส แคนด'ล สตริค ชาร์ตอิ่ง เทคนิควอส์

ฮอมมะได้เขียนไว้ในหนังสือ 2 เล่ม ชื่อ ซากาตะ เฮนโซ (SAKATA HENSO) และ โซบะ ซาไออิ โน เดน(SOBA SAIN NO DEN) ซึ่ง มร.สตีฟ นิสออน ได้นำไปแพร่หลายอย่างมากทางประเทศตะวันตก เมื่อประมาณเวลา 10 ปีผ่านไป ราวปี พ.ศ. 2525 กลุ่มประเทศตะวันตกทั้งหลายได้เห็นความมีประสิทธิภาพ กระทั่งเกิดความเชื่อมั่น จึงได้นำไปใช้วิเคราะห์ตลาดหุ้น ตลาดซื้อขายล่วงหน้า และตลาดออปชั่น เครื่องมือตัวนี้ได้มีบุคคลนำเข้ามาวิเคราะห์หุ้นในตลาดหุ้นไทย เมื่อ พ.ศ. 2530

รูปแบบการวิเคราะห์แบบแท่งเทียนญี่ปุ่น เป็นรูปแบบที่ประกอบขึ้นจากราคาเปิด ราคาปิด ราคาต่ำสุด และราคาสูงสุด และวิธีการวิเคราะห์หรือความหมายที่ได้จะง่ายและชัดเจน แผนภูมิแบบแท่งเทียนนี้ มีอยู่มากกว่า 50 แบบ[1] ด้วยรูปแบบที่บอกถึงการเปลี่ยนทิศทางใหม่ ที่มีความหมาย(MAJOR REVERSAL PATTERN)


  1. แบบ สนิปปิง ท็อป ,แบบชาฝเอ่น บัทท่อม เป็นต้น(เทคนิคการวิเคราะห์ : www.taladhoon.com)