ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พหุนาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jittat (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเนื้อหา
Thijs!bot (คุย | ส่วนร่วม)
robot Adding: lt:Polinomas
บรรทัด 18: บรรทัด 18:
[[da:Polynomium]]
[[da:Polynomium]]
[[de:Polynom]]
[[de:Polynom]]
[[es:Polinomio]]
[[eo:Polinomo]]
[[en:Polynomial]]
[[en:Polynomial]]
[[eo:Polinomo]]
[[es:Polinomio]]
[[fi:Polynomi]]
[[fr:Polynôme]]
[[fr:Polynôme]]
[[fy:Mearterm]]
[[fy:Mearterm]]
[[gl:Polinomio]]
[[gl:Polinomio]]
[[ko:다항식]]
[[is:Margliða]]
[[it:Polinomio]]
[[he:פולינום]]
[[he:פולינום]]
[[hu:Polinom]]
[[hu:Polinom]]
[[nl:Polynoom]]
[[is:Margliða]]
[[it:Polinomio]]
[[ja:多項式]]
[[ja:多項式]]
[[ko:다항식]]
[[lt:Polinomas]]
[[nl:Polynoom]]
[[no:Polynom]]
[[no:Polynom]]
[[pl:Wielomian]]
[[pl:Wielomian]]
บรรทัด 37: บรรทัด 39:
[[sk:Mnohočlen]]
[[sk:Mnohočlen]]
[[sl:Polinom]]
[[sl:Polinom]]
[[fi:Polynomi]]
[[sv:Polynom]]
[[sv:Polynom]]
[[vi:Đa thức]]
[[tr:Polinom]]
[[tr:Polinom]]
[[uk:Многочлен]]
[[uk:Многочлен]]
[[ur:کثیر رقمی]]
[[ur:کثیر رقمی]]
[[vi:Đa thức]]
[[zh:多項式]]
[[zh:多項式]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:39, 6 เมษายน 2550

ในคณิตศาสตร์ พหุนาม คือนิพจน์ที่สร้างจากตัวแปรอย่างน้อยหนึ่งตัวและค่าคงที่ โดยใช้การดำเนินการแค่ การบวก การลบ และการคูณ

ตัวอย่างเช่น นิพจน์ เป็นพหุนาม (เนื่องจาก เป็นการเขียนย่อจาก ) แต่นิพจน์ ไม่ใช่พหุนาม เนื่องจากมีการหาร เช่นเดียวกับ นิพจน์ เนื่องจากไม่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปของการคูณกันที่ไม่ขึ้นกับค่าของตัวแปร ได้

นอกจากนี้ ยังมีการนิยาม พหุนาม ในรูปแบบจำกัด กล่าวคือ พหุนามคือนิพจน์ที่เป็นผลรวมของผลคูณของตัวแปรและค่าคงที่ ยกตัวอย่างเช่น อย่างไรก็ตาม ข้อจำกัดนี้เป็นเพียงข้อจำกัดที่ผิวเผิน เนื่องจากสามารถใช้กฎการแจกแจงแปลงพหุนามภายใต้นิยามแรกให้เป็นพหุนามภายใต้นิยามที่สองได้ ในการใช้งานทั่วไปมักไม่แยกแยะความแตกต่างทั้งสอง นอกจากนี้ในบริบททั่วไปมักนิยมถือว่าโดยทั่วไปพหุนามจะอยู่ในรูปแบบจำกัดนี้ แต่เมื่อต้องการแสดงว่าอะไรเป็นพหุนามมักใช้รูปแบบแรก เนื่องจากสะดวกมากกว่า

ฟังก์ชันพหุนาม คือฟังก์ชันที่นิยามด้วยพหุนาม ตัวอย่างเช่น ฟังก์ชัน f นิยามด้วย f(x) = x3x เป็นฟังก์ชันพหุนาม ฟังก์ชันพหุนามเป็นฟังก์ชันเรียบประเภทหนึ่งที่สำคัญ โดยคำว่าเรียบในที่นี้หมายความว่าสามารถหาอนุพันธ์ได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด นั่นคือ เป็นฟังก์ชันที่มีอนุพันธ์ทุก ๆ อันดับที่จำกัด