ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อัมพาต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Makecat-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: zh:瘫痪
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
[[หมวดหมู่:อาการ]]
[[หมวดหมู่:อาการ]]
[[หมวดหมู่:ความผิดปกติทางประสาทวิทยา]]
[[หมวดหมู่:ความผิดปกติทางประสาทวิทยา]]

[[ar:شلل]]
[[ay:Such'u]]
[[az:İflic]]
[[bg:Парализа]]
[[bn:পক্ষাঘাত]]
[[ca:Paràlisi]]
[[cs:Ochrnutí]]
[[da:Paralyse]]
[[de:Lähmung]]
[[en:Paralysis]]
[[eo:Paralizo]]
[[es:Parálisis]]
[[et:Halvatus]]
[[fa:فلج کامل اندام]]
[[fi:Halvaus]]
[[fr:Paralysie]]
[[he:שיתוק]]
[[hr:Paraliza]]
[[id:Kelumpuhan]]
[[it:Paralisi]]
[[ja:麻痺]]
[[kk:Паралич]]
[[ky:Шал]]
[[ml:തളർവാതം]]
[[mr:पक्षाघात]]
[[nds:Plegie]]
[[nl:Verlamming]]
[[no:Lammelse]]
[[pl:Porażenie]]
[[pt:Paralisia]]
[[ru:Паралич]]
[[rw:Kugagara ingingo]]
[[simple:Paralysis]]
[[sl:Ohromelost]]
[[sv:Förlamning]]
[[te:పక్షవాతం]]
[[tl:Pagkalumpo]]
[[tr:Felç]]
[[uk:Параліч]]
[[zh:瘫痪]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:13, 10 มีนาคม 2556

อัมพาต (อังกฤษ: paralysis) คือ อาการที่อวัยวะบางส่วนเช่นแขนขาเป็นต้นตายไปกระดิกไม่ได้ ตรงกันข้ามกับอัมพฤกษ์ที่อวัยวะร่างกายเพียงอ่อนแรง

สาเหตุ

อาการ

  • เส้นเลือดในสมองแตก มักเกิดขึ้นอย่างปัจจุบันทันด่วน เช่น กำลังทำกิจกรรมใด ๆ อยู่แล้วล้มลงไปเพราะเส้นเลือดแตก คนที่โมโหจนกลายเป็นอัมพาตมีโอกาสเสียชีวิตสูง
  • เส้นเลือดตีบ มักพบในกรณีที่นอนหลับแล้วตื่นขึ้นมาก็เดินไม่ได้ แขนขาอ่อนแรงไปข้างใดข้างหนึ่ง เช่น ถ้าเส้นเลือดตีบที่ขา จะปวดส่วนนิ้วมาก ถ้าตีบที่หัวใจ เส้นเลือดหัวใจจะตายทันที

การรักษา

รักษาตามสาเหตุ ถ้าเลือดในสมองมาก ต้องผ่าตัดเพื่อเอาเลือดที่ไปกดทันสมองออก มิฉะนั้น อาจเสียชีวิต แต่ถ้าตีบ จะต้องให้ยาขยายเล้นเลือดและสลายลิ่มเลือด ทำให้เลือดเหลวขึ้น เพื่อให้เลือดได้แทรกไปเลี้ยงสมองส่วนที่ขาดเลือดได้

หลักการและปัจจัยในการรักษา

  1. เวลาที่ได้รับการรักษา ยิ่งเร็วยิ่งดี ถ้าสมองขาดเลือดไปเลี้ยง ยิ่งปล่อยไว้นาน เนื้อสมองจะตายแบบไม่ฟื้น หากได้รับการแก้ไขได้เร็ว จะทำให้ฟื้นตัวได้เกือบปรกติ
  2. สาเหตุรุนแรงมากหรือน้อย สมองส่วนที่เหลือสามารถเจริญมาทดแทนสมองส่วนที่เสียไป และเซลล์สมองเกิดใหม่ได้
  3. วิธีการรักษาโดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและยาที่มีประสิทธิภาพ ถ้าทำให้ลิ่มเลือดหรือสิ่งที่อุดตันหายไปยิ่งเร็วยิ่งดี
  4. ผู้ป่วยและครอบครัวต้องร่วมมือและดูแลกันอย่างจริงใจ

อ้างอิง

  • นิตยสารชีวจิต ฉบับวันที่ 1 ตุลาคม 2551