ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัฏจักรคัลวิน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Makecat-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: sr:Kalvinov ciklus
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต: แทนที่คำ
บรรทัด 6: บรรทัด 6:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{reflist}}
* {{cite journal |author=Bassham JA |title=Mapping the carbon reduction cycle: a personal retrospective |journal=Photosyn. Res. |volume=76 |issue=1-3 |pages=35–52 |year=2003 |pmid=16228564 |doi=10.1023/A:1024929725022 }}
* {{cite journal |author=Bassham JA |title=Mapping the carbon reduction cycle: a personal retrospective |journal=Photosyn. Res. |volume=76 |issue=1-3 |pages=35–52 |year=2003 |pmid=16228564 |doi=10.1023/A:1024929725022 }}
* {{cite web |author=Diwan, Joyce J. |title=Photosynthetic Dark Reaction |year=2005 |work= |publisher=Biochemistry and Biophysics, Rensselaer Polytechnic Institute |url=http://www.rpi.edu/dept/bcbp/molbiochem/MBWeb/mb2/part1/dark.htm}}
* {{cite web |author=Diwan, Joyce J. |title=Photosynthetic Dark Reaction |year=2005 |work= |publisher=Biochemistry and Biophysics, Rensselaer Polytechnic Institute |url=http://www.rpi.edu/dept/bcbp/molbiochem/MBWeb/mb2/part1/dark.htm}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:38, 24 ธันวาคม 2555

ภาพรวมของวัฏจักรคัลวิน

วัฏจักรคัลวิน (อังกฤษ: Calvin cycle) หรือ Calvin-Benson-Bassham (CBB) cycle reductive pentose phosphate cycle หรือ C3 cycle เป็นลำดับของปฏิกิริยาทางด้านชีวเคมี เกิดขึ้นในสโตรมาของคลอโรพลาสต์ บางครั้งเรียกปฏิกิริยานี้ว่าปฏิกิริยาช่วงที่ไม่ใช้แสง วัฏจักรคัลวิน เกิดเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้

  • การตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ไปเป็น 3-ฟอสโฟกลีเซอเรต (3-PGA) โดยใช้ ไรบูโลส-1,5-บิสฟอสเฟต (RuBP) รวมตัวกับคาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยตัวเร่ง รูบิสโค (RuBisCO) ได้เป็น 3-ฟอสโฟกลีเซอเรต 2 โมเลกุล
  • การเปลี่ยน 3-ฟอสโฟกลีเซอเรต ไปเป็น กลีเซอรอลดีไฮด์-3-ฟอสเฟต (G3P) โดยใช้พลังงาน ATP และ NADPH + H+ กลีเซอรอลดีไฮด์-3-ฟอสเฟต ที่ได้จะนำไปสร้างเป็นกลูโคสซึ่งจะเปลี่ยนเป็นแป้งในกรณีเป็นอาหารสะสมภายในเซลล์ หรือขนส่งไปยังเซลล์อื่นในรูปน้ำตาลซูโครส
  • กลีเซอรอลดีไฮด์-3-ฟอสเฟต บางส่วนถูกนำไปจัดตัวใหม่กลายเป็นไรบูโลส-1,5-บิสฟอสเฟต (คาร์บอน 5 ตัว) เพื่อนำไปตรึงคาร์บอนไดออกไซด์ในรอบใหม่ ทั้งนี้ กลีเซอรอลดีไฮด์-3-ฟอสเฟต 5 ตัว จะจัดตัวใหม่ได้เป็น ไรบูโลส-1,5-บิสฟอสเฟต 3 ตัว

อ้างอิง

  • Bassham JA (2003). "Mapping the carbon reduction cycle: a personal retrospective". Photosyn. Res. 76 (1–3): 35–52. doi:10.1023/A:1024929725022. PMID 16228564.
  • Diwan, Joyce J. (2005). "Photosynthetic Dark Reaction". Biochemistry and Biophysics, Rensselaer Polytechnic Institute.
  • Portis, Archie; Parry, Martin (2007). "Discoveries in Rubisco (Ribulose 1, 5-bisphosphate carboxylase/oxygenase) : a historical perspective" (PDF). Photosynthesis Research. 94 (1): 121–143. doi:10.1007/s11120-007-9225-6. PMID 17665149{{cite journal}}: CS1 maint: postscript (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น