ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โพซิตรอน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
NOKSAAK (คุย | ส่วนร่วม)
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
replaceViaLink
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''โพซิตรอน''' ({{lang-en|positron}}) หรือ '''แอนติอิเล็กตรอน''' ({{lang-en|antielectron}}) เป็น[[ปฏิอนุภาค]]หรือ[[ปฏิสสาร]]ของ[[อิเล็กตรอน]] โพซิตรอนมี[[ประจุไฟฟ้า]]เป็น +1 มี[[สปิน_(ฟิสิกส์)|สปิน]]เป็น 1/2 และมี[[มวล]]เท่ากับอิเล็กตรอน ถ้าโพซิตรอนพลังงานต่ำชนกับอิเล็กตรอนพลังงานต่ำจะเกิด[[การประลัย]] (annihilation) คือมีการเกิด[[โฟตอน]][[รังสีแกมมา]] 2 โฟตอนหรือมากกว่า
'''โพซิตรอน''' ({{lang-en|positron}}) หรือ '''แอนติอิเล็กตรอน''' ({{lang-en|antielectron}}) เป็น[[ปฏิยานุภาค]]หรือ[[ปฏิสสาร]]ของ[[อิเล็กตรอน]] โพซิตรอนมี[[ประจุไฟฟ้า]]เป็น +1 มี[[สปิน_(ฟิสิกส์)|สปิน]]เป็น 1/2 และมี[[มวล]]เท่ากับอิเล็กตรอน ถ้าโพซิตรอนพลังงานต่ำชนกับอิเล็กตรอนพลังงานต่ำจะเกิด[[การประลัย]] (annihilation) คือมีการเกิด[[โฟตอน]][[รังสีแกมมา]] 2 โฟตอนหรือมากกว่า
{{เรียงลำดับ|พโซิตรอน}}
{{เรียงลำดับ|พโซิตรอน}}
โพซิตรอนอาจจะเกิดจากการสลายตัวของ[[การปลดปล่อยโพซิตรอน]]กัมมันตรังสี (ผ่าน[[อันตรกิริยาอย่างอ่อน]]) หรือโดย[[การผลิตคู่]]จาก[[โฟตอน]]ที่มีพลังงานเพียงพอ
โพซิตรอนอาจจะเกิดจากการสลายตัวของ[[การปลดปล่อยโพซิตรอน]]กัมมันตรังสี (ผ่าน[[อันตรกิริยาอย่างอ่อน]]) หรือโดย[[การผลิตคู่]]จาก[[โฟตอน]]ที่มีพลังงานเพียงพอ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:00, 27 ตุลาคม 2555

โพซิตรอน (อังกฤษ: positron) หรือ แอนติอิเล็กตรอน (อังกฤษ: antielectron) เป็นปฏิยานุภาคหรือปฏิสสารของอิเล็กตรอน โพซิตรอนมีประจุไฟฟ้าเป็น +1 มีสปินเป็น 1/2 และมีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน ถ้าโพซิตรอนพลังงานต่ำชนกับอิเล็กตรอนพลังงานต่ำจะเกิดการประลัย (annihilation) คือมีการเกิดโฟตอนรังสีแกมมา 2 โฟตอนหรือมากกว่า

โพซิตรอนอาจจะเกิดจากการสลายตัวของการปลดปล่อยโพซิตรอนกัมมันตรังสี (ผ่านอันตรกิริยาอย่างอ่อน) หรือโดยการผลิตคู่จากโฟตอนที่มีพลังงานเพียงพอ

ประวัติ

ทฤษฎีนิมิตและการทำนาย (Theoretical foreshadowing and prediction)

ในปี 1928 พอล ดิแรก (Paul Dirac) ได้ตีพิมพ์รายงานวิจัยเสนอว่าอิเล็กตรอนสามารถมีได้ทั้งประจุบวกและพลังงานเชิงลบ