ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พันธุ์ป่า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: es:Wild type
WikitanvirBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: fa:گونه خود رو
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
[[en:Wild type]]
[[en:Wild type]]
[[es:Wild type]]
[[es:Wild type]]
[[fa:گونه خود رو]]
[[fr:Type naturel]]
[[fr:Type naturel]]
[[nl:Veldstam]]
[[nl:Veldstam]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:31, 27 เมษายน 2555

กล้วยที่เป็นไวลด์ไทป์ต่างจากกล้วยที่ใช้กินตรงที่มีเมล็ดแข็งๆ ขนาดใหญ่อยู่เป็นจำนวนมาก

ไวลด์ไทป์เป็นฟีโนไทป์หนึ่งของสิ่งมีชีวิตสปีชีส์หนึ่งๆ ที่เป็นรูปแบบพื้นฐานเกิดขึ้นเองและพบได้ในธรรมชาติ ตามความเข้าใจเดิมนั้นลักษณะที่เป็นไวลด์ไทป์หมายถึงลักษณะที่เกิดจากอัลลีล "ปกติ" ของโลคัสนั้นๆ ซึ่งไม่เหมือนกับอัลลีล "กลายพันธุ์" ซึ่งไม่ปกติ ปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่าโลคัสส่วนใหญ่ของยีนนั้นมีอัลลีลหลายรูปแบบซึ่งมีความถี่แตกต่างกันไปตามภูมิประเทศที่สิ่งมีชีวิตนั้นๆ อยู่อาศัย ดังนั้นรูปแบบไวลด์ไทป์ที่เป็นพื้นฐานจริงๆ นั้น จึงไม่มีอยู่จริง อย่างไรก็ดีโดยทั่วไปนั้นถือว่าอัลลีลที่พบบ่อยที่สุด หรือมีความถี่มากที่สุด จะถือว่าเป็นอัลลีลที่เป็นไวลด์ไทป์[1]

อ้างอิง

  1. Jones, Elizabeth; Hartl, Daniel L. (1998). Genetics: principles and analysis. Boston: Jones and Bartlett Publishers. ISBN 0-7637-0489-X.{{cite book}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)

แหล่งข้อมูลอื่น