ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทมาเส็กโฮลดิงส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "ดิ้ง" → "ดิง" ด้วยสจห.
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ "เซค" → "เส็ก" ด้วยสจห.
บรรทัด 2: บรรทัด 2:


รัฐบาลสิงคโปร์มีบริษัทลงทุนอีกแห่ง คือ Government of Singapore Investment Corporation (GIC) ซึ่งทำการลงทุน[[เงินสำรองระหว่างประเทศ]]เป็นหลัก
รัฐบาลสิงคโปร์มีบริษัทลงทุนอีกแห่ง คือ Government of Singapore Investment Corporation (GIC) ซึ่งทำการลงทุน[[เงินสำรองระหว่างประเทศ]]เป็นหลัก



== การลงทุนในประเทศไทย ==
== การลงทุนในประเทศไทย ==
วันที่ 23 มกราคม [[พ.ศ. 2549]] เทมาเซคโฮลดิงส์ ได้ซื้อหุ้นใน[[บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)]] จากครอบครัวชินวัตรจำนวน 1,487 ล้านหุ้น คิดเป็น 49.595% ที่ราคาหุ้นละ 49.25 บาท รวมมูลค่า 7.32 หมื่นล้านบาท<ref>http://www.bangkokbizweek.com/20061104/cover/index.php?news=column_22057892.html</ref> ซึ่งมีการกล่าวหาว่าการซื้อขายครั้งนี้มีการหลบเลี่ยง[[ภาษี]]
วันที่ 23 มกราคม [[พ.ศ. 2549]] เทมาเส็กโฮลดิงส์ ได้ซื้อหุ้นใน[[บริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)]] จากครอบครัวชินวัตรจำนวน 1,487 ล้านหุ้น คิดเป็น 49.595% ที่ราคาหุ้นละ 49.25 บาท รวมมูลค่า 7.32 หมื่นล้านบาท<ref>http://www.bangkokbizweek.com/20061104/cover/index.php?news=column_22057892.html</ref> ซึ่งมีการกล่าวหาว่าการซื้อขายครั้งนี้มีการหลบเลี่ยง[[ภาษี]]





รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:27, 20 กุมภาพันธ์ 2555

บริษัทเทมาเส็กโฮลดิงส์ (อังกฤษ: Temasek Holdings) เป็นกองทุนเพื่อการลงทุนของรัฐบาลสิงคโปร์ ก่อตั้งในปี ค.ศ. 1975 มีกระทรวงพาณิชย์ของสิงคโปร์เป็นผู้ถือหุ้นรายเดียว บริษัททำการลงทุนในกิจการจำนวนมากของสิงคโปร์ เริ่มแรกในกิจการต่อเรือและการผลิต ปัจจุบันเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ในบริษัทใหญ่อย่าง ธนาคารดีบีเอส สิงคโปร์ สิงคโปร์ เทเลคอมมูนิเคชั่นส์ (สิงค์เทล) และกิจการอื่น ๆ อีกมาก ทั้งในสิงคโปร์และต่างประเทศ รวมถึงถือหุ้นในบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

รัฐบาลสิงคโปร์มีบริษัทลงทุนอีกแห่ง คือ Government of Singapore Investment Corporation (GIC) ซึ่งทำการลงทุนเงินสำรองระหว่างประเทศเป็นหลัก

การลงทุนในประเทศไทย

วันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2549 เทมาเส็กโฮลดิงส์ ได้ซื้อหุ้นในบริษัท ชิน คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) จากครอบครัวชินวัตรจำนวน 1,487 ล้านหุ้น คิดเป็น 49.595% ที่ราคาหุ้นละ 49.25 บาท รวมมูลค่า 7.32 หมื่นล้านบาท[1] ซึ่งมีการกล่าวหาว่าการซื้อขายครั้งนี้มีการหลบเลี่ยงภาษี


อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น