ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไคเซ็ง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Antelope (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 3715811 สร้างโดย HerculeBot (พูดคุย) ก่อกวน
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนไปรุ่นที่ไม่ละเมิด
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''ไคเซ็น''' ({{ญี่ปุ่น|改善|Kaizen}}) เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่า การเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ดีขึ้น หรือปรับปรุงให้ดีขึ้น หรือการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง หรือการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ไคเซ็นโดยความหมายทั่วๆไปแล้วจะหมายความว่า สภาพสิ่งที่ไม่ดีปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นใหม่ ซึ่งเป็นคำศัพท์ที่ใช้ในวงการ[[อุตสาหกรรมการผลิต]]ไคเซ็นที่ใช้ใน[[โรงงาน]]ผู้ปฏิบัติงานจะเป็นแกนกลางในการปฏิบัติในกิจกรรมนี้ ([[Bottom up]])
{{Copyvio|url=http://zentale.blogspot.com/2011/07/kaizen.html, http://www.luckydragonlogistics.com/images/main_1217038997/KAIZEN.pdf|วันที่=3/1/2555| ละเมิดลิขสิทธิ์มาจากหลายแหล่ง}}

== คำจำกัดความ ==
เนื้อหาของกิจกรรมไคเซ็นคือ การปรับปรุงแก้ไขอุปกรณ์เครื่องจักร และการสร้างเครื่องมือใหม่ๆ[[Pokayoke]]ขึ้นมาเป็นต้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้ก้าวหน้าและ รักษาความปลอดภัยในการทำงาน, ป้องกันการเกิด[[คุณภาพ]]ที่ไม่ดีขึ้น ในสิ่งเหล่านี้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต ไคเซ็น(การปรับปรุงให้ดีขึ้น) เป็นการปฏิบัติงานโดยใช้สติปัญญาของคนงานในการทำกิจกรรมเองซึ่งไม่ได้เป็นคำสั่งจากเบื้องบน จึงเป็นลักษณะเฉพาะพิเศษของกิจกรรมนี้ ทางฝ่ายโรงงานหรือกิจการ ส่วนใหญ่ก็ได้คอยช่วยเหลือรองรับทางกิจกรรมที่เป็นรูปแบบของ[[การควบคุมคุณภาพ#QC circle|QC circle]]เป็นต้นเสียส่วนใหญ่ หรือ ไคเซ็นคือไม่ใช่เป็นการกิจกรรมที่เสร็จสิ้นแค่ครั้งเดียวแต่จะทำอย่างต่อเนื่องและไม่มีที่สิ้นสุด

กิจกรรมไคเซ็น กับกิจกรรม QC circle นั้นในวงการ[[อุตสาหกรรมการผลิต]]ของญี่ปุ่นแล้วส่วนใหญ่จะใช้ร่วมกันหรือทำร่วมกัน

ไคเซ็นได้ถูกนับรวมในคำจำกัดความพื้นฐานของ[[ระบบการผลิตแบบโตโยต้า]] เข้าไปด้วย ตัวอย่างเช่น การใช้สติปัญญาของพนักงานใน[[การปรับปรุงงาน]]ด้าน[[ทอผ้า]]ของอุปกรณ์การผลิตโดยใช้ของจากบริษัทอื่นแทนบ้าง และของที่ไม่เพียงพอหรือขาดจะไม่ซื้อแต่พวกตนเองจะทำการสร้างและปรับปรุงขึ้นมา และการสร้างแก้ไขนั้นจะอยู่ในระบบไม่เกิน[[งบประมาณ]]ที่วางไว้ เป็นต้น ในการผลิตแบบระบบ[[โตโยต้า]]นั้นจะมีเกร็ดสาระที่ลึกๆในหลายอย่าง

วงการอุตสาหกรรมและโรงงานของญี่ปุ่นได้ขยายและพัฒนาไปในต่างประเทศ ในขณะเดียวกันก็ได้ส่ง[[ผู้ชำนาญงาน]]ไปฝึกอบรมพนักงานในท้องถิ่น และในปี[[ค.ศ. 1980]] ณ [[Massachusetts Institute of Technology|MIT]]เป็นแกนนำในการทำวิจัยความแข็งแกร่งของวงการ[[อุตสาหกรรมญี่ปุ่น]] เป็นต้น สิ่งนี้เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดของวงการการผลิตของญี่ปุ่นจึงทำให้ขยายไปยังต่างประเทศ

== ดูเพิ่ม ==
* [[5ส]]

[[หมวดหมู่:การผลิต|คไคเซ็น]]

[[ar:كايزن]]
[[az:Kayzen]]
[[ca:Kaizen]]
[[cs:Kaizen]]
[[de:Kaizen]]
[[en:Kaizen]]
[[es:Kaizen]]
[[eu:Kaizen]]
[[fr:Kaizen]]
[[gl:Kaizen]]
[[he:קאיזן]]
[[hi:काइज़ेन]]
[[hr:Kaizen]]
[[id:Kaizen]]
[[it:Kaizen]]
[[ja:改善]]
[[kn:ಕೈಜೆನ್]]
[[mn:Кайзен]]
[[nl:Kaizen]]
[[pl:Kaizen]]
[[pt:Kaizen]]
[[ro:Kaizen]]
[[ru:Кайдзен]]
[[sk:Kaizen]]
[[sr:Каизен]]
[[sv:Kaizen]]
[[tr:Kaizen]]
[[uk:Кайдзен]]
[[uz:Kaizen]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:36, 15 มกราคม 2555

ไคเซ็น (ญี่ปุ่น: 改善โรมาจิKaizen) เป็นภาษาญี่ปุ่น แปลว่า การเปลี่ยนแปลงเพื่อให้ดีขึ้น หรือปรับปรุงให้ดีขึ้น หรือการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง หรือการปรับปรุงให้ดีขึ้นอย่างสม่ำเสมอ ไคเซ็นโดยความหมายทั่วๆไปแล้วจะหมายความว่า สภาพสิ่งที่ไม่ดีปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นใหม่ ซึ่งเป็นคำศัพท์ที่ใช้ในวงการอุตสาหกรรมการผลิตไคเซ็นที่ใช้ในโรงงานผู้ปฏิบัติงานจะเป็นแกนกลางในการปฏิบัติในกิจกรรมนี้ (Bottom up)

คำจำกัดความ

เนื้อหาของกิจกรรมไคเซ็นคือ การปรับปรุงแก้ไขอุปกรณ์เครื่องจักร และการสร้างเครื่องมือใหม่ๆPokayokeขึ้นมาเป็นต้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้ก้าวหน้าและ รักษาความปลอดภัยในการทำงาน, ป้องกันการเกิดคุณภาพที่ไม่ดีขึ้น ในสิ่งเหล่านี้ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต ไคเซ็น(การปรับปรุงให้ดีขึ้น) เป็นการปฏิบัติงานโดยใช้สติปัญญาของคนงานในการทำกิจกรรมเองซึ่งไม่ได้เป็นคำสั่งจากเบื้องบน จึงเป็นลักษณะเฉพาะพิเศษของกิจกรรมนี้ ทางฝ่ายโรงงานหรือกิจการ ส่วนใหญ่ก็ได้คอยช่วยเหลือรองรับทางกิจกรรมที่เป็นรูปแบบของQC circleเป็นต้นเสียส่วนใหญ่ หรือ ไคเซ็นคือไม่ใช่เป็นการกิจกรรมที่เสร็จสิ้นแค่ครั้งเดียวแต่จะทำอย่างต่อเนื่องและไม่มีที่สิ้นสุด

กิจกรรมไคเซ็น กับกิจกรรม QC circle นั้นในวงการอุตสาหกรรมการผลิตของญี่ปุ่นแล้วส่วนใหญ่จะใช้ร่วมกันหรือทำร่วมกัน

ไคเซ็นได้ถูกนับรวมในคำจำกัดความพื้นฐานของระบบการผลิตแบบโตโยต้า เข้าไปด้วย ตัวอย่างเช่น การใช้สติปัญญาของพนักงานในการปรับปรุงงานด้านทอผ้าของอุปกรณ์การผลิตโดยใช้ของจากบริษัทอื่นแทนบ้าง และของที่ไม่เพียงพอหรือขาดจะไม่ซื้อแต่พวกตนเองจะทำการสร้างและปรับปรุงขึ้นมา และการสร้างแก้ไขนั้นจะอยู่ในระบบไม่เกินงบประมาณที่วางไว้ เป็นต้น ในการผลิตแบบระบบโตโยต้านั้นจะมีเกร็ดสาระที่ลึกๆในหลายอย่าง

วงการอุตสาหกรรมและโรงงานของญี่ปุ่นได้ขยายและพัฒนาไปในต่างประเทศ ในขณะเดียวกันก็ได้ส่งผู้ชำนาญงานไปฝึกอบรมพนักงานในท้องถิ่น และในปีค.ศ. 1980MITเป็นแกนนำในการทำวิจัยความแข็งแกร่งของวงการอุตสาหกรรมญี่ปุ่น เป็นต้น สิ่งนี้เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดของวงการการผลิตของญี่ปุ่นจึงทำให้ขยายไปยังต่างประเทศ

ดูเพิ่ม