ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงกรานต์ จิตสุทธิภากร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
== ประวัติ ==
== ประวัติ ==


เกิดที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมือง จ.นครสวรรค์ เป็นลูกชายคนที่หกของนายเดชชัยและนางโบ้ตัว จิตสุทธิภากร เจ้าของโรงหล่อเหล็กขนาดเล็กๆ ในตลาดปากน้ำโพ ช่วงเด็ก มีความฝันเหมือนเด็กทั่วไปที่โตขึ้น อยากเป็นวิศวกร จึงตั้งใจศึกษาเล่าเรียนจนจบ ม.ศ. 3 จากโรงเรียนโชติรวี ก่อนจะเข้ามาสอบคัดเลือกเพื่อเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พญาไท และสอบคัดเลือกเข้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ลาดกระบัง ได้ตามที่ตั้งใจ เมื่อศึกษาจบแล้ว ได้ออกมาทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายคอมพิวเตอร์ที่ธนาคารกสิกรไทย สำนักงานใหญ่ เป็นเวลาประมาณ 1 ปี ก่อนจะเดินทางไปศึกษาต่อที่ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเข้าเรียนที่คณะบริหารธุรกิจ สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ ที่ The University of Toledo, Ohio. ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเวลาประมาณ 2 ปี
เกิดที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมือง จ.นครสวรรค์ เป็นลูกชายคนที่หกของนายเดชชัยและนางโบ้ตัว จิตสุทธิภากร เจ้าของโรงหล่อเหล็กขนาดเล็กๆ ในตลาดปากน้ำโพ ช่วงเด็ก มีความฝันเหมือนเด็กทั่วไปที่โตขึ้น อยากเป็นวิศวกร จึงตั้งใจศึกษาเล่าเรียนจนจบ ม.ศ. 3 จากโรงเรียนโชติรวี ก่อนจะเข้ามาสอบคัดเลือก เพื่อเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พญาไท และสอบคัดเลือกเข้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ลาดกระบัง ได้ตามที่ตั้งใจ เมื่อศึกษาจบแล้ว ได้ออกมาทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายคอมพิวเตอร์ที่ธนาคารกสิกรไทย สำนักงานใหญ่ เป็นเวลาประมาณ 1 ปี ก่อนจะเดินทางไปศึกษาต่อที่ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเข้าเรียนที่คณะบริหารธุรกิจ สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ ที่ The University of Toledo, Ohio. ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเวลาประมาณ 2 ปี


กลับมาเมืองไทย เนื่องจากคุณพ่ออยากให้ลูกคนหนึ่งรับราชการ จึงสอบคัดเลือกเข้าเป็นข้าราชการที่สำนักปลัดกระทรวงคมนาคม [[กระทรวงคมนาคม]] ในตำแหน่งนักวิเทศสัมพันธ์ระดับ 4 ได้เพียงหนึ่งเดือน รสช.ทำการปฏิวัติ จึงถูกยืมตัวไปทำงานเป็นคณะทำงานของคุณสาริน สกุลรัตนะ ซึ่งเป็นเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สมัยที่ท่าน[[นุกูล ประจวบเหมาะ]] เป็นรัฐมนตรี ในรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน รับราชการอยู่ประมาณ 5 ปี ก่อนจะลาออกมาประกอบธุรกิจส่วนตัวให้กับครอบครัว ที่จังหวัดนครสวรรค์ โดยเป็นผู้จัดการ บริษัท เดชชัยรับเบอร์ จำกัด ซึ่งทำธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตลูกยางสีข้าว สำหรับใช้ในโรงสีข้าว โดยสามารถส่งออกไปต่างประเทศ และมีลูกค้าอยู่เกือบสิบประเทศทั่วโลก
กลับมาเมืองไทย เนื่องจากคุณพ่ออยากให้ลูกคนหนึ่งรับราชการ จึงสอบคัดเลือกเข้าเป็นข้าราชการที่สำนักปลัดกระทรวงคมนาคม [[กระทรวงคมนาคม]] ในตำแหน่งนักวิเทศสัมพันธ์ระดับ 4 ได้เพียงหนึ่งเดือน รสช.ทำการปฏิวัติ จึงถูกยืมตัวไปทำงานเป็นคณะทำงานของคุณสาริน สกุลรัตนะ ซึ่งเป็นเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สมัยที่ท่าน[[นุกูล ประจวบเหมาะ]] เป็นรัฐมนตรี ในรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน รับราชการอยู่ประมาณ 5 ปี ก่อนจะลาออกมาประกอบธุรกิจส่วนตัวให้กับครอบครัว ที่จังหวัดนครสวรรค์ โดยเป็นผู้จัดการ บริษัท เดชชัยรับเบอร์ จำกัด ซึ่งทำธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตลูกยางสีข้าว สำหรับใช้ในโรงสีข้าวขนาดใหญ่ทั่วประเทศ และส่งออกไปต่างประเทศเกือบสิบประเทศทั่วโลก


เป็นคนที่สนใจด้านการเมืองมาตั้งแต่เด็ก โดยมักจะติดตามข่าวสารด้านการเมืองมาโดยตลอด และชอบที่จะไปฟังการปราศรัยอยู่เสมอๆ เมื่อกลับมาทำธุรกิจที่บ้านเกิด เมื่อมีการเลือกตั้งครั้งใด ก็จะลงสมัครเสมอ โดยเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ใช้ความพยายามลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนทั้งหมด 5 ครั้ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 จนมาประสบความสำเร็จ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครสวรรค์ ในการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 ที่ผ่านมา
เนื่องจากเป็นคนที่สนใจด้านการเมืองมาตั้งแต่เด็ก โดยมักจะติดตามข่าวสารด้านการเมือง และชอบที่จะไปฟังการปราศรัยอยู่เสมอๆ ดังนั้น ระหว่างที่ทำธุรกิจอยู่นครสวรรค์ เมื่อมีการเลือกตั้งระดับประเทศครั้งใด ก็จะอาสาลงสมัครในนามของพรรคประชาธิปัตย์ โดยเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ใช้ความพยายามลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนทั้งหมด 4 ครั้ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 จนมาประสบความสำเร็จ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 และอีกครั้ง เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 รวมทั้งหมด 2 สมัย


ในระหว่างที่ทำงานในฐานะ ส.ส. ได้รับความไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ หลายตำแหน่ง ดังต่อไปนี้
ในระหว่างที่ทำงานในฐานะ ส.ส. สมัยแรก (ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2554) ได้รับความไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ หลายตำแหน่ง ดังต่อไปนี้
- กรรมาธิการและเลขานุการ คณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ สภาผู้แทนราษฎร
- กรรมาธิการและเลขานุการ คณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ สภาผู้แทนราษฎร
- กรรมาธิการ คณะกรรมาธิการการทหาร สภาผู้แทนราษฎร
- กรรมาธิการ คณะกรรมาธิการการทหาร สภาผู้แทนราษฎร

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:25, 23 กรกฎาคม 2554

สงกรานต์ จิตสุทธิภากร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ที่ผ่านมา โดยเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์

ประวัติ

เกิดที่ตำบลปากน้ำโพ อำเภอเมือง จ.นครสวรรค์ เป็นลูกชายคนที่หกของนายเดชชัยและนางโบ้ตัว จิตสุทธิภากร เจ้าของโรงหล่อเหล็กขนาดเล็กๆ ในตลาดปากน้ำโพ ช่วงเด็ก มีความฝันเหมือนเด็กทั่วไปที่โตขึ้น อยากเป็นวิศวกร จึงตั้งใจศึกษาเล่าเรียนจนจบ ม.ศ. 3 จากโรงเรียนโชติรวี ก่อนจะเข้ามาสอบคัดเลือก เพื่อเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา พญาไท และสอบคัดเลือกเข้าคณะวิศวกรรมศาสตร์ ที่สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ลาดกระบัง ได้ตามที่ตั้งใจ เมื่อศึกษาจบแล้ว ได้ออกมาทำงานเป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายคอมพิวเตอร์ที่ธนาคารกสิกรไทย สำนักงานใหญ่ เป็นเวลาประมาณ 1 ปี ก่อนจะเดินทางไปศึกษาต่อที่ประเทศสหรัฐอเมริกา โดยเข้าเรียนที่คณะบริหารธุรกิจ สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ ที่ The University of Toledo, Ohio. ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นเวลาประมาณ 2 ปี

กลับมาเมืองไทย เนื่องจากคุณพ่ออยากให้ลูกคนหนึ่งรับราชการ จึงสอบคัดเลือกเข้าเป็นข้าราชการที่สำนักปลัดกระทรวงคมนาคม กระทรวงคมนาคม ในตำแหน่งนักวิเทศสัมพันธ์ระดับ 4 ได้เพียงหนึ่งเดือน รสช.ทำการปฏิวัติ จึงถูกยืมตัวไปทำงานเป็นคณะทำงานของคุณสาริน สกุลรัตนะ ซึ่งเป็นเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม สมัยที่ท่านนุกูล ประจวบเหมาะ เป็นรัฐมนตรี ในรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน รับราชการอยู่ประมาณ 5 ปี ก่อนจะลาออกมาประกอบธุรกิจส่วนตัวให้กับครอบครัว ที่จังหวัดนครสวรรค์ โดยเป็นผู้จัดการ บริษัท เดชชัยรับเบอร์ จำกัด ซึ่งทำธุรกิจเกี่ยวกับการผลิตลูกยางสีข้าว สำหรับใช้ในโรงสีข้าวขนาดใหญ่ทั่วประเทศ และส่งออกไปต่างประเทศเกือบสิบประเทศทั่วโลก

เนื่องจากเป็นคนที่สนใจด้านการเมืองมาตั้งแต่เด็ก โดยมักจะติดตามข่าวสารด้านการเมือง และชอบที่จะไปฟังการปราศรัยอยู่เสมอๆ ดังนั้น ระหว่างที่ทำธุรกิจอยู่นครสวรรค์ เมื่อมีการเลือกตั้งระดับประเทศครั้งใด ก็จะอาสาลงสมัครในนามของพรรคประชาธิปัตย์ โดยเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน ใช้ความพยายามลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนทั้งหมด 4 ครั้ง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 จนมาประสบความสำเร็จ ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดนครสวรรค์ เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2550 และอีกครั้ง เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2554 รวมทั้งหมด 2 สมัย

ในระหว่างที่ทำงานในฐานะ ส.ส. สมัยแรก (ระหว่างปี พ.ศ. 2551-2554) ได้รับความไว้วางใจให้ดำรงตำแหน่งต่างๆ หลายตำแหน่ง ดังต่อไปนี้

   - กรรมาธิการและเลขานุการ คณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ สภาผู้แทนราษฎร
   - กรรมาธิการ คณะกรรมาธิการการทหาร สภาผู้แทนราษฎร
   - กรรมาธิการ คณะกรรมาธิการการสื่อสารและโทรคมนาคม (ICT) สภาผู้แทนราษฎร
   - ประธานกลุ่มมิตรภาพ ไทย-ฟิลิปปินส์
   - ประธานคณะอนุกรรมาธิการ กรรมาธิการวิสามัญพิจารณางบประมาณรายจ่ายประจำปี  2553