ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความเชื่อหลักของอณูชีววิทยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''หลักเกณฑ์กลางสำหรับชีววิทยาโมเลกุล''' ({{lang-en|central dogma of molecular biology}}) นั้นมีการพูดถึงครั้งแรกโดย [[ฟรานซิส คริก]] ใน [[ค.ศ. 1958]]<ref name="crick1958">Crick, F.H.C. (1958): [http://profiles.nlm.nih.gov/SC/B/B/F/T/_/scbbft.pdf On Protein Synthesis.] Symp. Soc. Exp. Biol. XII, 139-163. (pdf, early draft of original article)</ref> และมีกล่าวซ้ำในบทความซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร[[เนเจอร์]] เมื่อปี ค.ศ. 1970<ref name="crick1970">{{cite journal | last1 = Crick | first1 = F | title = Central dogma of molecular biology. | url = http://www.nature.com/nature/focus/crick/pdf/crick227.pdf | pmid = 4913914 | author-separator =, | journal = Nature | author-name-separator= | doi=10.1038/227561a0 | volume=227 | issue=5258 | pages = 561–3 | year=1970 | month=August}}</ref> ว่า
'''ความเชื่อหลักของอณูชีววิทยา''' หรือ '''หลักเกณฑ์กลางสำหรับชีววิทยาโมเลกุล''' ({{lang-en|central dogma of molecular biology}}) นั้นมีการพูดถึงครั้งแรกโดย [[ฟรานซิส คริก]] ใน [[ค.ศ. 1958]]<ref name="crick1958">Crick, F.H.C. (1958): [http://profiles.nlm.nih.gov/SC/B/B/F/T/_/scbbft.pdf On Protein Synthesis.] Symp. Soc. Exp. Biol. XII, 139-163. (pdf, early draft of original article)</ref> และมีกล่าวซ้ำในบทความซึ่งตีพิมพ์ในวารสาร[[เนเจอร์]] เมื่อปี ค.ศ. 1970<ref name="crick1970">{{cite journal | last1 = Crick | first1 = F | title = Central dogma of molecular biology. | url = http://www.nature.com/nature/focus/crick/pdf/crick227.pdf | pmid = 4913914 | author-separator =, | journal = Nature | author-name-separator= | doi=10.1038/227561a0 | volume=227 | issue=5258 | pages = 561–3 | year=1970 | month=August}}</ref> ว่า


[[ไฟล์:Centraldogma nodetails.GIF|thumb|right|160px|การไหลของข้อมูลในระบบเชิงชีวะ]]
[[ไฟล์:Centraldogma nodetails.GIF|thumb|right|160px|การไหลของข้อมูลในระบบเชิงชีวะ]]
<blockquote>"หลักเกณฑ์กลางของชีววิทยาโมเลกุลคือรายละเอียดโดยละเอียดขั้นต่อขั้นของการส่งต่อข้อมูล โดยระบุชัดเจนว่าข้อมูลไม่อาจถูกส่งย้อนจากโปรตีนกลับไปเป็นโปรตีนหรือกรดนิวคลิอิกได้"<ref>''The central dogma of molecular biology deals with the detailed residue-by-residue transfer of sequential information. It states that information cannot be transferred back from protein to either protein or nucleic acid.''</ref></blockquote>
<blockquote>"ความเชื่อหลักของอณูชีววิทยาคือรายละเอียดโดยละเอียดขั้นต่อขั้นของการส่งต่อข้อมูล โดยระบุชัดเจนว่าข้อมูลไม่อาจถูกส่งย้อนจากโปรตีนกลับไปเป็นโปรตีนหรือกรดนิวคลิอิกได้"<ref>''The central dogma of molecular biology deals with the detailed residue-by-residue transfer of sequential information. It states that information cannot be transferred back from protein to either protein or nucleic acid.''</ref></blockquote>


กล่าวคือ กระบวน[[การสร้างโปรตีน]]นั้นเป็นกระบวนการที่ไม่สามารถเกิดย้อนกลับได้ ไม่สามารถสร้าง[[ดีเอ็นเอ]]โดยมี[[โปรตีน]]เป็นต้นแบบได้
กล่าวคือ กระบวน[[การสร้างโปรตีน]]นั้นเป็นกระบวนการที่ไม่สามารถเกิดย้อนกลับได้ ไม่สามารถสร้าง[[ดีเอ็นเอ]]โดยมี[[โปรตีน]]เป็นต้นแบบได้


หลักเกณฑ์ดังกล่าวเป็นกรอบความเข้าใจการถ่ายทอดข้อมูลลำดับระหว่างข้อมูลข้อมูลลำดับ โดยในกรณีที่พบได้ทั่วไป จะขนส่งโพลิเมอร์ชีวภาพในสิ่งมีชีวิต โพลิเมอร์ชีวภาพแบ่งออกเป็น 3 ระดับใหญ่ ๆ ได้แก่ [[ดีเอ็นเอ]] [[อาร์เอ็นเอ]] (ทั้งสองเป็นกรดนิวคลีอิกทั้งคู่) และโปรตีน มีการถ่ายทอดข้อมูลโดยตรงที่เป็นไปได้จำนวน 3×3 = 9 วิธี ที่เกิดขึ้นระหว่างการถ่ายทอดข้อมูลเหล่านี้ หลักเกณฑ์ดังกล่าวได้แบ่งประเภททั้ง 9 วิธีนี้ออกเป็นสามประเภท ประเภทละสามวิธี คือ การถ่ายทอดทั่วไป 3 วิธี ซึ่งเชื่อกันว่าเกิดขึ้นตามปกติในเซลล์ส่นวใหญ่, การถ่ายทอดพิเศษ 3 วิธี ซึ่งเป็นที่รู้จัก แต่เกิดขึ้นเฉพาะเมื่ออยู่สภาวะที่เจาะจงในกรณีของไวรัสบางชนิดหรือในห้องปฏิบัติการ และการถ่ายทอดที่ยังไม่เป็นที่ทราบกันอีก 3 วิธี การถ่ายทอดทั่วไปอธิบายการไหลทั่วไปของข้อมูลทางชีววิทยา ซึ่งดีเอ็นเอสามารถคัดลอกตัวเองเป็นดีเอ็นเอ ข้อมูลดีเอ็นเอสามารถคัดลอกต่อเป็นเอ็มอาร์เอ็นเอได้ (การถอดรหัส) และโปรตีนสามารถถูกสังเคราะห์ได้โดยใช้ข้อมูลในเอ็มอาร์เอ็นเอเป็นแบบ (การแปลรหัส)<ref name="crick1970"/>
หลักเกณฑ์ดังกล่าวเป็นกรอบความเข้าใจการถ่ายทอดข้อมูลลำดับระหว่างข้อมูลข้อมูลลำดับ โดยในกรณีที่พบได้ทั่วไป จะขนส่งโพลิเมอร์ชีวภาพในสิ่งมีชีวิต โพลิเมอร์ชีวภาพแบ่งออกเป็น 3 ระดับใหญ่ ๆ ได้แก่ [[ดีเอ็นเอ]] [[อาร์เอ็นเอ]] (ทั้งสองเป็นกรดนิวคลีอิกทั้งคู่) และโปรตีน มีการถ่ายทอดข้อมูลโดยตรงที่เป็นไปได้จำนวน 3×3 = 9 วิธี ที่เกิดขึ้นระหว่างการถ่ายทอดข้อมูลเหล่านี้ หลักเกณฑ์ดังกล่าวได้แบ่งประเภททั้ง 9 วิธีนี้ออกเป็นสามประเภท ประเภทละสามวิธี คือ การถ่ายทอดทั่วไป 3 วิธี ซึ่งเชื่อกันว่าเกิดขึ้นตามปกติในเซลล์ส่นวใหญ่, การถ่ายทอดพิเศษ 3 วิธี ซึ่งเป็นที่รู้จัก แต่เกิดขึ้นเฉพาะเมื่ออยู่สภาวะที่เจาะจงในกรณีของไวรัสบางชนิดหรือในห้องปฏิบัติการ และการถ่ายทอดที่ยังไม่เป็นที่ทราบกันอีก 3 วิธี การถ่ายทอดทั่วไปอธิบายการไหลทั่วไปของข้อมูลทางชีววิทยา ซึ่งดีเอ็นเอสามารถคัดลอกตัวเองเป็นดีเอ็นเอ ข้อมูลดีเอ็นเอสามารถคัดลอกต่อเป็นเอ็มอาร์เอ็นเอได้ (การถอดรหัส) และโปรตีนสามารถถูกสังเคราะห์ได้โดยใช้ข้อมูลในเอ็มอาร์เอ็นเอเป็นแบบ (การแปลรหัส)<ref name="crick1970"/>

== พรีออน ==
{{บทความหลัก|พรีออน}}

พรีออนเป็นโปรตีนที่สามารถจำลองตัวเองได้ เป็นตัวการก่อนให้เกิดโรค CJD ปัจจุบันพบว่าการจำลองตัวเองของพรีออนก็อยู่ภายใต้กฎการคัดเลือกโดยธรรมชาติ เช่นเดียวกับกรดนิวคลีอิก การจำลองตัวเองของพรีออนเป็นตัวอย่างที่ขัดกับความเชื่อหลักของอณูชีววิทยา


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:19, 26 มิถุนายน 2554

ความเชื่อหลักของอณูชีววิทยา หรือ หลักเกณฑ์กลางสำหรับชีววิทยาโมเลกุล (อังกฤษ: central dogma of molecular biology) นั้นมีการพูดถึงครั้งแรกโดย ฟรานซิส คริก ใน ค.ศ. 1958[1] และมีกล่าวซ้ำในบทความซึ่งตีพิมพ์ในวารสารเนเจอร์ เมื่อปี ค.ศ. 1970[2] ว่า

การไหลของข้อมูลในระบบเชิงชีวะ

"ความเชื่อหลักของอณูชีววิทยาคือรายละเอียดโดยละเอียดขั้นต่อขั้นของการส่งต่อข้อมูล โดยระบุชัดเจนว่าข้อมูลไม่อาจถูกส่งย้อนจากโปรตีนกลับไปเป็นโปรตีนหรือกรดนิวคลิอิกได้"[3]

กล่าวคือ กระบวนการสร้างโปรตีนนั้นเป็นกระบวนการที่ไม่สามารถเกิดย้อนกลับได้ ไม่สามารถสร้างดีเอ็นเอโดยมีโปรตีนเป็นต้นแบบได้

หลักเกณฑ์ดังกล่าวเป็นกรอบความเข้าใจการถ่ายทอดข้อมูลลำดับระหว่างข้อมูลข้อมูลลำดับ โดยในกรณีที่พบได้ทั่วไป จะขนส่งโพลิเมอร์ชีวภาพในสิ่งมีชีวิต โพลิเมอร์ชีวภาพแบ่งออกเป็น 3 ระดับใหญ่ ๆ ได้แก่ ดีเอ็นเอ อาร์เอ็นเอ (ทั้งสองเป็นกรดนิวคลีอิกทั้งคู่) และโปรตีน มีการถ่ายทอดข้อมูลโดยตรงที่เป็นไปได้จำนวน 3×3 = 9 วิธี ที่เกิดขึ้นระหว่างการถ่ายทอดข้อมูลเหล่านี้ หลักเกณฑ์ดังกล่าวได้แบ่งประเภททั้ง 9 วิธีนี้ออกเป็นสามประเภท ประเภทละสามวิธี คือ การถ่ายทอดทั่วไป 3 วิธี ซึ่งเชื่อกันว่าเกิดขึ้นตามปกติในเซลล์ส่นวใหญ่, การถ่ายทอดพิเศษ 3 วิธี ซึ่งเป็นที่รู้จัก แต่เกิดขึ้นเฉพาะเมื่ออยู่สภาวะที่เจาะจงในกรณีของไวรัสบางชนิดหรือในห้องปฏิบัติการ และการถ่ายทอดที่ยังไม่เป็นที่ทราบกันอีก 3 วิธี การถ่ายทอดทั่วไปอธิบายการไหลทั่วไปของข้อมูลทางชีววิทยา ซึ่งดีเอ็นเอสามารถคัดลอกตัวเองเป็นดีเอ็นเอ ข้อมูลดีเอ็นเอสามารถคัดลอกต่อเป็นเอ็มอาร์เอ็นเอได้ (การถอดรหัส) และโปรตีนสามารถถูกสังเคราะห์ได้โดยใช้ข้อมูลในเอ็มอาร์เอ็นเอเป็นแบบ (การแปลรหัส)[2]

พรีออน

พรีออนเป็นโปรตีนที่สามารถจำลองตัวเองได้ เป็นตัวการก่อนให้เกิดโรค CJD ปัจจุบันพบว่าการจำลองตัวเองของพรีออนก็อยู่ภายใต้กฎการคัดเลือกโดยธรรมชาติ เช่นเดียวกับกรดนิวคลีอิก การจำลองตัวเองของพรีออนเป็นตัวอย่างที่ขัดกับความเชื่อหลักของอณูชีววิทยา

อ้างอิง

  1. Crick, F.H.C. (1958): On Protein Synthesis. Symp. Soc. Exp. Biol. XII, 139-163. (pdf, early draft of original article)
  2. 2.0 2.1 Crick, F (1970). "Central dogma of molecular biology" (PDF). Nature. 227 (5258): 561–3. doi:10.1038/227561a0. PMID 4913914. {{cite journal}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |author-name-separator= (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |author-separator= ถูกละเว้น (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  3. The central dogma of molecular biology deals with the detailed residue-by-residue transfer of sequential information. It states that information cannot be transferred back from protein to either protein or nucleic acid.