ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าหงิญ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ภาพ:เจ้าหงิญ.jpg|thumb|right|หน้าปกของ ''เจ้าหงิญ'']]
[[ภาพ:เจ้าหงิญ.jpg|thumb|right|หน้าปกของ ''เจ้าหงิญ'']]
'''เจ้าหงิญ''' เป็นหนังสือรวม[[เรื่องสั้น]]ทั้ง เรื่อง ของ[[บินหลา สันกาลาคีรี]] ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (ซีไรต์) ของประเทศไทย ประจำปี[[พ.ศ. 2548]] เรื่องสั้นในเล่ม จะนำโลกของจินตนาการ มาผสานกับโลกของความจริง โดยใช้รูปแบบนิทาน เสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ประสบการณ์ทางอารมณ์ การเผชิญกับปัญหาและอุปสรรค การแสวงหาความหมายและความสุขของชีวิต แต่ด้วยความเขลา มนุษย์จึงดิ้นรนและหลงอยู่ในมายา ในที่สุด ผู้อ่านจะรับรู้ได้ว่าในโลกของความเป็นจริงนั้น โลกมีหลากหลายทางเลือกที่จะไปสู่วิถีชีวิตที่เรียบง่ายและพอดี อาจอ่านแยกกันเป็นเรื่องๆ แต่ด้วยการเรียงร้อยเข้าด้วยกัน ทำให้เรื่องสั้นแต่ละเรื่องกลายเป็นเรื่องสั้นในเรื่องยาว เป็นนิทานซ้อนนิทานที่เรื่องต้นกับเรื่องท้ายมาบรรจบกันอย่างแนบเนียน ผู้ประพันธ์สร้างตัวละครหลากหลาย ทั้งคน สัตว์ สิ่งของแบบนิทานเปรียบเทียบที่อุดมด้วยสีสัน รวมทั้งการเล่นคำ โดยเฉพาะชื่อ เจ้าหงิญ ที่สื่อความหลายนัยและอารมณ์ขัน มีลีลาภาษาที่รุ่มรวยด้วยโวหารเร้าจินตนาการและความคิด
'''เจ้าหงิญ''' เป็นหนังสือรวม[[เรื่องสั้น]]ทั้ง 8 เรื่อง ของ [[บินหลา สันกาลาคีรี]] ได้รับ[[รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน]] (ซีไรต์) ของ[[ประเทศไทย]] ประจำปี [[พ.ศ. 2548]] เรื่องสั้นในเล่ม จะนำโลกของจินตนาการ มาผสานกับโลกของความจริง โดยใช้รูปแบบนิทาน เสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ประสบการณ์ทางอารมณ์ การเผชิญกับปัญหาและอุปสรรค การแสวงหาความหมายและความสุขของชีวิต แต่ด้วยความเขลา มนุษย์จึงดิ้นรนและหลงอยู่ในมายา ในที่สุด ผู้อ่านจะรับรู้ได้ว่าในโลกของความเป็นจริงนั้น โลกมีหลากหลายทางเลือกที่จะไปสู่วิถีชีวิตที่เรียบง่ายและพอดี อาจอ่านแยกกันเป็นเรื่องๆ แต่ด้วยการเรียงร้อยเข้าด้วยกัน ทำให้เรื่องสั้นแต่ละเรื่องกลายเป็นเรื่องสั้นในเรื่องยาว เป็นนิทานซ้อนนิทาน ที่เรื่องต้นกับเรื่องท้ายมาบรรจบกันอย่างแนบเนียน ผู้ประพันธ์สร้างตัวละครหลากหลาย ทั้งคน สัตว์ สิ่งของแบบนิทานเปรียบเทียบที่อุดมด้วยสีสัน รวมทั้งการเล่นคำ โดยเฉพาะชื่อ เจ้าหงิญ ที่สื่อความหลายนัยและอารมณ์ขัน มีลีลาภาษาที่รุ่มรวยด้วยโวหารเร้าจินตนาการและความคิด


เจ้าหงิญ เล่าเรื่องด้วยน้ำเสียงอ่อนหวานและอ่อนโยน ให้เรารู้ว่าในโลกความเป็นจริง ชีวิตไม่ได้เป็นไปดังหวัง หากดำรงอยู่ได้อย่างสันติก็ด้วยพลังของความดีงามซึ่งกระตุ้นจิตใต้สำนึกของผู้อ่านให้มองโลกในแง่ดี เข้าใจและรักเพื่อนมนุษย์
เจ้าหงิญ เล่าเรื่องด้วยน้ำเสียงอ่อนหวานและอ่อนโยน ให้เรารู้ว่าในโลกความเป็นจริง ชีวิตไม่ได้เป็นไปดังหวัง หากดำรงอยู่ได้อย่างสันติ ก็ด้วยพลังของความดีงาม ซึ่งกระตุ้นจิตใต้สำนึกของผู้อ่านให้มองโลกในแง่ดี เข้าใจและรักเพื่อนมนุษย์
{{โครงวรรณกรรม}}


[[หมวดหมู่:เรื่องสั้น|จเจ้าหงิญ]]
[[หมวดหมู่:เรื่องสั้น|จเจ้าหงิญ]]
[[หมวดหมู่:รางวัลซีไรต์|จเจ้าหงิญ]]
[[หมวดหมู่:วรรณกรรมที่ได้รับรางวัลซีไรต์|จเจ้าหงิญ]]
{{โครงวรรณกรรม}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:35, 6 พฤศจิกายน 2549

ไฟล์:เจ้าหงิญ.jpg
หน้าปกของ เจ้าหงิญ

เจ้าหงิญ เป็นหนังสือรวมเรื่องสั้นทั้ง 8 เรื่อง ของ บินหลา สันกาลาคีรี ได้รับรางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์ยอดเยี่ยมแห่งอาเซียน (ซีไรต์) ของประเทศไทย ประจำปี พ.ศ. 2548 เรื่องสั้นในเล่ม จะนำโลกของจินตนาการ มาผสานกับโลกของความจริง โดยใช้รูปแบบนิทาน เสนอเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ประสบการณ์ทางอารมณ์ การเผชิญกับปัญหาและอุปสรรค การแสวงหาความหมายและความสุขของชีวิต แต่ด้วยความเขลา มนุษย์จึงดิ้นรนและหลงอยู่ในมายา ในที่สุด ผู้อ่านจะรับรู้ได้ว่าในโลกของความเป็นจริงนั้น โลกมีหลากหลายทางเลือกที่จะไปสู่วิถีชีวิตที่เรียบง่ายและพอดี อาจอ่านแยกกันเป็นเรื่องๆ แต่ด้วยการเรียงร้อยเข้าด้วยกัน ทำให้เรื่องสั้นแต่ละเรื่องกลายเป็นเรื่องสั้นในเรื่องยาว เป็นนิทานซ้อนนิทาน ที่เรื่องต้นกับเรื่องท้ายมาบรรจบกันอย่างแนบเนียน ผู้ประพันธ์สร้างตัวละครหลากหลาย ทั้งคน สัตว์ สิ่งของแบบนิทานเปรียบเทียบที่อุดมด้วยสีสัน รวมทั้งการเล่นคำ โดยเฉพาะชื่อ เจ้าหงิญ ที่สื่อความหลายนัยและอารมณ์ขัน มีลีลาภาษาที่รุ่มรวยด้วยโวหารเร้าจินตนาการและความคิด

เจ้าหงิญ เล่าเรื่องด้วยน้ำเสียงอ่อนหวานและอ่อนโยน ให้เรารู้ว่าในโลกความเป็นจริง ชีวิตไม่ได้เป็นไปดังหวัง หากดำรงอยู่ได้อย่างสันติ ก็ด้วยพลังของความดีงาม ซึ่งกระตุ้นจิตใต้สำนึกของผู้อ่านให้มองโลกในแง่ดี เข้าใจและรักเพื่อนมนุษย์