ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุกรมฟูรีเย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
LaaknorBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: nn:Fourierrekkjer
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต แก้ไข: nn:Fourierrekkje; ปรับแต่งให้อ่านง่าย
บรรทัด 9: บรรทัด 9:


== นิยาม ==
== นิยาม ==
พิจารณาฟังก์ชันจำนวนเชิงซ้อน ''f''(''x'') ของตัวแปรซึ่งมีค่าเป็นจำนวนจริง ที่มีคาบ 2π และ สามารถหาค่าปริพันธ์ของกำลังสอง ในช่วง 0 ถึง 2π ได้ การกระจายฟังก์ชันในรูปของอนุกรมฟูริเยร์จะหาได้จาก
พิจารณาฟังก์ชันจำนวนเชิงซ้อน ''f''(''x'') ของตัวแปรซึ่งมีค่าเป็นจำนวนจริง ที่มีคาบ และ สามารถหาค่าปริพันธ์ของกำลังสอง ในช่วง 0 ถึง ได้ การกระจายฟังก์ชันในรูปของอนุกรมฟูริเยร์จะหาได้จาก


{|border="0" cellpaddin="5" cellspacing="10" width=100%
{|border="0" cellpaddin="5" cellspacing="10" width=100%
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
|-
|-
|align = center |<math>f(x) = \frac{1}{2}a_0 + \sum_{n=1}^\infty\left[a_n\cos(nx)+b_n\sin(nx)\right]</math>
|align = center |<math>f(x) = \frac{1}{2}a_0 + \sum_{n=1}^\infty\left[a_n\cos(nx)+b_n\sin(nx)\right]</math>
|<math>a_n = \frac{1}{\pi}\int_{-\pi}^\pi f(x)\cos(nx)\,dx</math> <br/>
|<math>a_n = \frac{1}{\pi}\int_{-\pi}^\pi f(x)\cos(nx)\,dx</math> <br />
<math>b_n = \frac{1}{\pi}\int_{-\pi}^\pi f(x)\sin(nx)\,dx</math>
<math>b_n = \frac{1}{\pi}\int_{-\pi}^\pi f(x)\sin(nx)\,dx</math>
|-
|-
บรรทัด 81: บรรทัด 81:
[[mt:Serje ta' Fourier]]
[[mt:Serje ta' Fourier]]
[[nl:Fourierreeks]]
[[nl:Fourierreeks]]
[[nn:Fourierrekkjer]]
[[nn:Fourierrekkje]]
[[pl:Szereg Fouriera]]
[[pl:Szereg Fouriera]]
[[pt:Série de Fourier]]
[[pt:Série de Fourier]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:41, 4 ธันวาคม 2552

อนุกรมฟูริเยร์ ตั้งชื่อตาม โจเซฟ ฟูริเยร์ อนุกรมฟูริเยร์เป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ที่มีประโยชน์ เช่นใช้ในการแยกปัญหาออกเป็นส่วนย่อยๆ ที่ง่ายกว่าปัญหาดั้งเดิม โดยอนุกรมฟูริเยร์ นั้นเป็นการกระจายฟังก์ชันคาบ ที่มีคาบ 2π ให้อยู่ในรูปผลบวกของ ฟังก์ชันคาบในรูป

ซึ่งเป็น ฮาร์โมนิก ของ ei x หรือ อาจเขียนในรูปของฟังก์ชัน ไซน์ และ โคไซน์

ดูประวัติที่บทความหลัก การแปลงฟูริเยร์

นิยาม

พิจารณาฟังก์ชันจำนวนเชิงซ้อน f(x) ของตัวแปรซึ่งมีค่าเป็นจำนวนจริง ที่มีคาบ 2π และ สามารถหาค่าปริพันธ์ของกำลังสอง ในช่วง 0 ถึง 2π ได้ การกระจายฟังก์ชันในรูปของอนุกรมฟูริเยร์จะหาได้จาก

อนุกรมฟูริเยร์ สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูริเยร์
จาก สูตรของออยเลอร์ (Euler's formula) เราสามารถเขียน f(x) อยู่ในรูปอนุกรมอนันต์ของ และ

โดยที่ , และ

ตัวอย่าง

พิจารณาฟังก์ชัน สำหรับค่า และเป็นคาบในช่วงที่เหลือ ตามข้อสมมุติของอนุกรมฟูริเยร์ ดังรูป

สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูริเยร์สามารถคำนวณหาได้ดังต่อไปนี้ สังเกตว่า cos(nx) เป็นฟังก์ชันคู่ ในขณะที่ f เป็นฟังก์ชันคี่เช่นเดียวกับ sin(nx)

สังเกตว่า a0 และ an มีค่าเท่ากับ 0 เนื่องจาก x และ x cos(nx) เป็นฟังก์ชันคี่ ดังนั้นอนุกรมฟูริเยร์ของ f(x) = x คือ:

สำหรับการประยุกต์ใช้งานอนุกรมฟูริเยร์ ดู ค่าของฟังก์ชันรีมันน์เซตา ที่ s = 2

ภาพเคลื่อนไหวแสดงกราฟต่อเนื่องห้าอันดับจากอนุกรมฟูริเยร์ที่เป็นคำตอบ