ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุกรมฟูรีเย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
VolkovBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: si:ෆෝරියර් ශ්‍රේණිය
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: mt:Serje ta’ Fourier; cosmetic changes
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
== ตัวอย่าง ==
== ตัวอย่าง ==
พิจารณาฟังก์ชัน <math> \, f(x) = x \,</math> สำหรับค่า <math> x \in (-\pi,\pi) </math> และเป็นคาบในช่วงที่เหลือ ตามข้อสมมุติของอนุกรมฟูริเยร์ ดังรูป
พิจารณาฟังก์ชัน <math> \, f(x) = x \,</math> สำหรับค่า <math> x \in (-\pi,\pi) </math> และเป็นคาบในช่วงที่เหลือ ตามข้อสมมุติของอนุกรมฟูริเยร์ ดังรูป
::[[ภาพ:Fxeqx.png|450px]]
::[[ไฟล์:Fxeqx.png|450px]]


สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูริเยร์สามารถคำนวณหาได้ดังต่อไปนี้ สังเกตว่า cos(''nx'') เป็น[[ฟังก์ชันคู่]] ในขณะที่ ''f'' เป็น[[ฟังก์ชันคี่]]เช่นเดียวกับ sin(''nx'')
สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูริเยร์สามารถคำนวณหาได้ดังต่อไปนี้ สังเกตว่า cos(''nx'') เป็น[[ฟังก์ชันคู่]] ในขณะที่ ''f'' เป็น[[ฟังก์ชันคี่]]เช่นเดียวกับ sin(''nx'')
บรรทัด 52: บรรทัด 52:
สำหรับการประยุกต์ใช้งานอนุกรมฟูริเยร์ ดู ค่าของ[[ฟังก์ชันรีมันน์เซตา]] ที่ ''s'' = 2
สำหรับการประยุกต์ใช้งานอนุกรมฟูริเยร์ ดู ค่าของ[[ฟังก์ชันรีมันน์เซตา]] ที่ ''s'' = 2


[[ภาพ:Periodic identity function.gif|left|thumb|400px|ภาพเคลื่อนไหวแสดงกราฟต่อเนื่องห้าอันดับจากอนุกรมฟูริเยร์ที่เป็นคำตอบ]]
[[ไฟล์:Periodic identity function.gif|left|thumb|400px|ภาพเคลื่อนไหวแสดงกราฟต่อเนื่องห้าอันดับจากอนุกรมฟูริเยร์ที่เป็นคำตอบ]]




บรรทัด 77: บรรทัด 77:
[[ko:푸리에 급수]]
[[ko:푸리에 급수]]
[[lt:Furjė eilutė]]
[[lt:Furjė eilutė]]
[[mt:Serje ta’ Fourier]]
[[nl:Fourierreeks]]
[[nl:Fourierreeks]]
[[pl:Szereg Fouriera]]
[[pl:Szereg Fouriera]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:46, 14 เมษายน 2552

อนุกรมฟูริเยร์ ตั้งชื่อตาม โจเซฟ ฟูริเยร์ อนุกรมฟูริเยร์เป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ที่มีประโยชน์ เช่นใช้ในการแยกปัญหาออกเป็นส่วนย่อยๆ ที่ง่ายกว่าปัญหาดั้งเดิม โดยอนุกรมฟูริเยร์ นั้นเป็นการกระจายฟังก์ชันคาบ ที่มีคาบ 2π ให้อยู่ในรูปผลบวกของ ฟังก์ชันคาบในรูป

ซึ่งเป็น ฮาร์โมนิก ของ ei x หรือ อาจเขียนในรูปของฟังก์ชัน ไซน์ และ โคไซน์

ดูประวัติที่บทความหลัก การแปลงฟูริเยร์

นิยาม

พิจารณาฟังก์ชันจำนวนเชิงซ้อน f(x) ของตัวแปรซึ่งมีค่าเป็นจำนวนจริง ที่มีคาบ 2π และ สามารถหาค่าปริพันธ์ของกำลังสอง ในช่วง 0 ถึง 2π ได้ การกระจายฟังก์ชันในรูปของอนุกรมฟูริเยร์จะหาได้จาก

อนุกรมฟูริเยร์ สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูริเยร์
จาก สูตรของออยเลอร์ (Euler's formula) เราสามารถเขียน f(x) อยู่ในรูปอนุกรมอนันต์ของ และ

โดยที่ , และ

ตัวอย่าง

พิจารณาฟังก์ชัน สำหรับค่า และเป็นคาบในช่วงที่เหลือ ตามข้อสมมุติของอนุกรมฟูริเยร์ ดังรูป

สัมประสิทธิ์ของอนุกรมฟูริเยร์สามารถคำนวณหาได้ดังต่อไปนี้ สังเกตว่า cos(nx) เป็นฟังก์ชันคู่ ในขณะที่ f เป็นฟังก์ชันคี่เช่นเดียวกับ sin(nx)

สังเกตว่า a0 และ an มีค่าเท่ากับ 0 เนื่องจาก x และ x cos(nx) เป็นฟังก์ชันคี่ ดังนั้นอนุกรมฟูริเยร์ของ f(x) = x คือ:

สำหรับการประยุกต์ใช้งานอนุกรมฟูริเยร์ ดู ค่าของฟังก์ชันรีมันน์เซตา ที่ s = 2

ภาพเคลื่อนไหวแสดงกราฟต่อเนื่องห้าอันดับจากอนุกรมฟูริเยร์ที่เป็นคำตอบ