ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มีเดียวิกิ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล ซอฟต์แวร์
| name = มีเดียวิกิ
| logo = [[ไฟล์:MediaWiki-2020-logo.svg|100px|MediaWiki logo]]
| screenshot =
| caption =
| developer = [[มูลนิธิวิกิมีเดีย]] <br>ไบรออน วิบเบอร์ (ผู้จัดการ)
| released = 25 มกราคม พ.ศ. 2545
| frequently updated = yes<!-- Release version update? Don't edit this page, just click on the version number! -->
| programming language = [[PHP]]
| operating system = [[หลายระบบปฏิบัติการ]]
| language = กว่า 100 ภาษา
| genre = [[วิกิ]]
| license = [[GPL]]
| website = [https://www.mediawiki.org/ mediawiki.org]
}}

'''มีเดียวิกิ''' ({{lang-en|MediaWiki}}) คือซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการจัดการข้อมูลในการทำ[[เว็บไซต์]] เป็นที่รู้จักดีในฐานะซอฟต์แวร์หลักสำหรับโครงการ[[วิกิพีเดีย]] และโครงการในวิกิมีเดีย การทำงานของมีเดียวิกิโดยทำงานบน[[เซิร์ฟเวอร์]]เป็นหลัก โดยทำงานกับ[[ภาษาพีเอชพี]] และ [[MySQL]] โครงการวิกิพีเดียและโครงการอื่นในมูลนิธิ[[วิกิมีเดีย]] ที่ปัจจุบันใช้งานมีเดียวิกิ ระยะ 3 ภายใต้ลิขสิทธิ์แบบ [[GFDL]] โดยซอฟต์แวร์ ถูกใช้ภายใต้ [[GPL]]

== ประวัติ ==
== ประวัติ ==
[[มักนุส มันส์เคอ]] นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การเคมี [[มหาวิทยาลัยโคโลญ]] [[ประเทศเยอรมนี]] เป็นผู้เริ่มออกแบบซอฟต์แวร์มีเดียวิกิ ซึ่งทำงานโดย[[ภาษาพีเอชพี]] และฐานข้อมูล [[MySQL]] ซึ่งต่อมาได้มีโปรแกรมเมอร์หลายคนได้ร่วมในโครงการนี้ โดยในวันที่ [[25 มกราคม]] [[พ.ศ. 2545]] โครงการระยะที่ 1 ชื่อ ยูสมอดวิกิ (UseModWiki) ได้เปลี่ยนมาเป็นโครงการระยะที่ 2 และในเดือนมิถุนายน ปีเดียวกัน ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น มีเดียวิกิ (โครงการระยะที่ 3) ชื่อในปัจจุบัน ในปัจจุบัน [[ไบรออน วิบเบอร์]] เป็นแกนนำผู้พัฒนาซอฟต์แวร์มีเดียวิกิ<ref>[http://meta.wikimedia.org/wiki/MediaWiki_history MediaWiki history]</ref>
[[มักนุส มันส์เคอ]] นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การเคมี [[มหาวิทยาลัยโคโลญ]] [[ประเทศเยอรมนี]] เป็นผู้เริ่มออกแบบซอฟต์แวร์มีเดียวิกิ ซึ่งทำงานโดย[[ภาษาพีเอชพี]] และฐานข้อมูล [[MySQL]] ซึ่งต่อมาได้มีโปรแกรมเมอร์หลายคนได้ร่วมในโครงการนี้ โดยในวันที่ [[25 มกราคม]] [[พ.ศ. 2545]] โครงการระยะที่ 1 ชื่อ ยูสมอดวิกิ (UseModWiki) ได้เปลี่ยนมาเป็นโครงการระยะที่ 2 และในเดือนมิถุนายน ปีเดียวกัน ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น มีเดียวิกิ (โครงการระยะที่ 3) ชื่อในปัจจุบัน ในปัจจุบัน [[ไบรออน วิบเบอร์]] เป็นแกนนำผู้พัฒนาซอฟต์แวร์มีเดียวิกิ<ref>[http://meta.wikimedia.org/wiki/MediaWiki_history MediaWiki history]</ref>

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:42, 13 มกราคม 2565

ประวัติ

มักนุส มันส์เคอ นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การเคมี มหาวิทยาลัยโคโลญ ประเทศเยอรมนี เป็นผู้เริ่มออกแบบซอฟต์แวร์มีเดียวิกิ ซึ่งทำงานโดยภาษาพีเอชพี และฐานข้อมูล MySQL ซึ่งต่อมาได้มีโปรแกรมเมอร์หลายคนได้ร่วมในโครงการนี้ โดยในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2545 โครงการระยะที่ 1 ชื่อ ยูสมอดวิกิ (UseModWiki) ได้เปลี่ยนมาเป็นโครงการระยะที่ 2 และในเดือนมิถุนายน ปีเดียวกัน ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น มีเดียวิกิ (โครงการระยะที่ 3) ชื่อในปัจจุบัน ในปัจจุบัน ไบรออน วิบเบอร์ เป็นแกนนำผู้พัฒนาซอฟต์แวร์มีเดียวิกิ[1]

การพัฒนาจากโครงการระยะที่ 2 เป็นระยะที่ 3

ในวันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 วิกิพีเดียได้ย้ายจากเซิร์ฟเวอร์เดิมไปสู่เซิร์ฟเวอร์ใหม่ (โครงการระยะ 3) ที่มีความสามารถสูงกว่าและเนื้อที่ที่มากกว่า ความสามารถหลักระหว่างโครงการระยะที่ 3 คล้ายกับโครงการในระยะที่ 2 โดยเพิ่มความสามารถดังต่อไปนี้เข้าไป ได้แก่ ระบบอัปโหลดรูป และการใช้ภาพในบทความ ระบบค้นหาข้อมูล โดยสามารถเก็บข้อมูลดัชนี ได้ในลักษณะทั้ง 2 และ 3 ตัวอักษร เพิ่มแถบข้างที่สามารถย้ายได้ สำหรับเว็บเบราว์เซอร์รุ่นใหม่ มีการจัดเก็บหมายเลขไอพี ของแต่ละการแก้ไข เพื่อให้สามารถติดตามการแก้ไขได้ เนื่องจากในระยะหลังมีผู้ใช้ที่ไม่ได้ลงทะเบียนเพิ่มมากขึ้น และหลายคนได้ช่วยเขียนในหลายบทความ เพิ่มความสามารถใช้สมการคณิตศาสตร์ เพิ่มความสามารถทำงานกับบอต เพิ่มระบบเก็บสถิติผู้ใช้แบบใหม่ ที่ใช้ทรัพยากรของเครื่องน้อยลง และเซิร์ฟเวอร์ของวิกิพีเดียกับเซิร์ฟเวอร์ของฐานข้อมูล สามารถทำงานแยกกัน

ซอฟต์แวร์ในโครงการระยะที่ 3 นี้ มีชื่อเสียงโด่งดังและมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ในขณะเดียวกัน ก็มีการแก้ไขข้อบกพร่องและเสริมความเสถียรของระบบ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น